ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๕ ชนะสัจจกนิครนถ์)
การฝึกฝนใจให้หยุดนิ่ง เป็นสิ่งสำคัญสำหรับชีวิตของเราทุกคน เพราะชีวิตของผู้มีใจหยุดดีแล้ว เป็นชีวิตที่ประเสริฐ มีพลัง มีความบริสุทธิ์ มีอานุภาพที่จะทำความดี เอาชนะความชั่ว
ชัยชนะครั้งที่ ๗ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๑ ชนะนันโทปนันทนาคราช)
ความทุกข์เป็นสิ่งที่มาพร้อมกับการเกิดของสรรพสัตว์ทั้งหลาย ทุกชีวิตต่างปรารถนาความสุข แสวงหาความหลุดพ้นจากทุกข์ทั้งปวง
ชัยชนะครั้งที่ ๘ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า(ตอนที่ ๑ ชนะพกาพรหม)
นักสร้างบารมีต้องมีใจจรดจ่ออยู่กับการสร้างบารมี ไม่ใช่ส่งใจไปในเรื่องอื่นที่ไม่เป็นสาระ อันเป็นเหตุให้อาสวกิเลสเข้ามาอยู่ในใจ ต้องคิดตลอดเวลาว่า ทำอย่างไรบารมีของเราจึงจะเต็มเปี่ยมบริบูรณ์
จันทกุมาร บำเพ็ญขันติบารมี (๒)
ผู้ประกอบด้วยความอดทนย่อมไม่หลงทำกาละ เมื่อแตกกายทำลายขันธ์ ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๑ (เทวสันนิบาต)
ความพร้อมเพรียงของหมู่เป็นเหตุแห่งสุข ภิกษุผู้ยินดีในความพร้อมเพรียงกัน ตั้งอยู่ในธรรม ย่อมไม่เสื่อมจากธรรมอันเกษมจากโยคะ
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๕ (พบมหาพรหม)
บุคคลใด ละบาปกรรมที่ตนทำไว้แล้วได้ด้วยกุศล บุคคลนั้นย่อมยังโลกนี้ให้สว่าง ดุจดวงจันทร์พ้นแล้วจากหมอก ฉะนั้น
เนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๔)
ความงามยามราตรีอยู่ที่รัศมีแห่งแสงจันทร์ ความงามของดวงตะวันอยู่ที่การทอแสงให้กับสรรพสัตว์และสรรพสิ่งทั้งหลาย
เนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๕)
รสแห่งธรรมเลิศกว่ารสทั้งปวง ความสุขที่เกิดจากการเข้าถึงธรรมอันบริสุทธิ์ภายใน ประเสริฐกว่าความสุขอื่น...
เนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๓)
มนุษย์ทั้งหลายมักติดข้องกันอยู่เช่นนี้มายาวนาน ทำให้ลืมเลือนภารกิจหลักที่แท้จริงของชีวิต คือ การเกิดมาสร้างบารมี ทำความบริสุทธิ์บริบูรณ์ให้แก่ตนเอง ด้วยการกลั่นจิตกลั่นใจให้ใสบริสุทธิ์
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๓ ชนะสัจจกนิครนถ์)
พื้นฐานชีวิตของมนุษย์ทุกคน ล้วนมีความทุกข์กันทั้งนั้น ตั้งแต่เกิดจนกระทั่งถึงบัดนี้ เราต้องพบกับความทุกข์ และส่วนใหญ่ยังไม่เคยพบความสุขที่แท้จริง