ลักษณะมหาบุรุษ (๓)
เวลาธรรมกาย เป็นเวลาที่ทรงคุณค่าที่ทุกท่านจะได้เจริญสมาธิภาวนาร่วมกัน เพื่อกลั่นกาย วาจา ใจของเรา
พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (๒)
ทุกชีวิตล้วนมีการแสวงหา บ้างแสวงหาปัจจัยสี่เพื่อใช้ในการดำรงชีวิต บ้างแสวงหาทรัพย์สมบัติ ชื่อเสียงเกียรติยศ ซึ่งเป็นโลกียทรัพย์ภายนอก แต่จะมีใคร
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๖ ชนะสัจจกนิครนถ์)
ความสุขหรือความทุกข์ที่ทุกคนได้รับในปัจจุบันชาติ ล้วนเป็นผลมาจากกรรมที่ได้ทำไว้ในอดีตชาติ ผู้ที่สามารถอธิบายเรื่องนี้ได้ดี มีเพียงพระสัมมาสัมพระพุทธเจ้า พระอรหันต์ และผู้มีรู้มีญาณเท่านั้น
ชัยชนะครั้งที่ ๕ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอน ชนะการถูกกล่าวหาจากนางจิญจมาณวิกา)
พุทธานุภาพ ธรรมานุภาพ สังฆานุภาพ เป็นอานุภาพที่ไม่มีประมาณ เพราะเป็นอจินไตยอยู่เหนือวิสัยของผู้ที่ใจยังไม่หยุด จะเข้าใจได้ด้วยการนึกคิดด้นเดา
ลักษณะมหาบุรุษ (๑)
ความมีวรรณะงาม ความมีเสียงเพราะ ความมีทรวดทรงดี ความมีรูปสวย ความเป็นใหญ่ ความมีบริวาร อิฐผลทั้งหมดนั้น บุคคลย่อมได้ด้วยบุญนิธินี้
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๔ (โชติบาลกุมาร)
ความดี คนดีทำง่าย ความดี คนชั่วทำยาก ความชั่ว คนชั่วทำง่าย ความชั่ว อริยบุคคลทำได้ยาก คนดี หมายถึงผู้ที่มีใจสะอาด บริสุทธิ์ ปราศจากอกุศล มีศีล ๕ เป็นปกติ
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า(ตอนที่ ๔ ชนะสัจจกนิครนถ์)
ความเห็นถูกจะเป็นต้นทางของความคิดถูก ซึ่งจะทำให้ความคิดก็เริ่มมีระบบระเบียบแบบแผนที่ดี มีความคิดในทางสร้างสรรค์ คิดที่จะพ้นทุกข์และให้พบสุขที่แท้จริง
ชัยชนะครั้งที่ ๘ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า(ตอนที่ ๒ ชนะพกาพรหม)
การปฏิบัติธรรมที่จะให้ได้ผลดี ต้องรักษาใจให้สงบเยือกเย็น มีเมตตาจิตในสรรพสัตว์ทั้งหลาย ให้มีอารมณ์ดี อารมณ์สบายตลอดเวลา
พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (๑)
การบังเกิดขึ้นของพระรัตนตรัย นำมาซึ่งสันติสุขแก่มวลมนุษยชาติและสรรพสัตว์ทั้งหลาย เมื่อเราเข้าถึงและเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับพระรัตนตรัย ความ
พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (๔)
ทรัพย์เครื่องปลื้มใจอย่างใดอย่างหนึ่งในโลกนี้หรือโลกอื่น หรือรัตนะใดอันประณีตในสวรรค์ ทรัพย์และรัตนะนั้นที่เสมอด้วยพระตถาคตไม่มีเลย แม้อันนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระพุทธเจ้า