มหานรก ๘ ขุม
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการนี้ เหมือนถูกนำมาโยนลงในนรก ธรรม ๔ ประการ คือ บุคคลผู้มีกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต และเป็นมิจฉาทิฏฐิ ผู้ที่ประพฤติธรรม ๔ ประการนี้เหมือนถูกโยนลงในนรก
อานิสงส์บูชาเจดีย์ด้วยดอกบัว ๘ กำ
ดูก่อนท่านผู้เห็นภัยในวัฏสงสารทั้งหลาย พวกเธอทั้งหลาย อย่ากลัวบุญเลย คำว่าบุญนี้ เป็นชื่อของความสุข
อานิสงส์บูชาเจดีย์ด้วยดอกไม้ ๘ ดอก
ข้าพเจ้ามีใจเลื่อมใส ยกดอกไม้กำแปดดอกขึ้นบูชาพระสถูปแห่งพระผู้มีพระภาคเจ้าพระนามว่า กัสสปะ ด้วยมือของตนเอง ด้วยอานุภาพแห่งผลบุญในครั้งนั้น ทำให้เป็นผู้ที่มีวรรณะงดงามเช่นนี้
ศีลคืออะไร รักษาแล้วดีอย่างไร ไม่ต้องปฏิบัติมงคล ๓๘ ได้หรือไม่
ศีลแปลว่า ปกติเพราะฉะนั้นศีลคือเจตนาที่จะควบคุมตัวเองให้เป็นมนุษย์ปกติ ไม่ให้ไปทำความเดือดร้อน ทั้งแก่ตนเองและผู้อื่น
เนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๘)
พระรัตนตรัย คือ รัตนะอันลํ้าค่ายิ่งกว่ารัตนะใดๆ ในโลก เพราะเป็นที่พึ่งที่ระลึกทั้งในโลกนี้และโลกหน้า...
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๒ (พุทธคุณ ๘ ประการ)
บุคคลผู้ถึงพระรัตนตรัย ชื่อว่าจะเป็นผู้บังเกิดในนรกเป็นต้น ย่อมไม่มี พ้นจากการบังเกิดในอบายแล้ว ยังจะเกิดขึ้นในเทวโลกได้เสวยมหาสมบัติ
ชัยชนะครั้งที่ ๘ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า(ตอนที่ ๒ ชนะพกาพรหม)
การปฏิบัติธรรมที่จะให้ได้ผลดี ต้องรักษาใจให้สงบเยือกเย็น มีเมตตาจิตในสรรพสัตว์ทั้งหลาย ให้มีอารมณ์ดี อารมณ์สบายตลอดเวลา
ชัยชนะครั้งที่ ๘ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า(ตอนที่ ๑ ชนะพกาพรหม)
นักสร้างบารมีต้องมีใจจรดจ่ออยู่กับการสร้างบารมี ไม่ใช่ส่งใจไปในเรื่องอื่นที่ไม่เป็นสาระ อันเป็นเหตุให้อาสวกิเลสเข้ามาอยู่ในใจ ต้องคิดตลอดเวลาว่า ทำอย่างไรบารมีของเราจึงจะเต็มเปี่ยมบริบูรณ์
มหาโควินทสูตร (ตอนที่ 2 พุทธคุณ ๘ ประการ)
บุคคลจะเป็นอุบาสกหรืออุบาสิกาก็ตาม ผู้ถึงพระรัตนตรัยอันประกอบด้วยคุณอันอุดมอย่างนี้ ชื่อว่าจะเป็นผู้บังเกิดในนรกเป็นต้น ย่อมไม่มี อนึ่งพ้นจากการบังเกิดในอบายแล้ว ยังจะเกิดขึ้นในเทวโลกได้เสวยมหาสมบัติ
มงคลที่ ๒๘ เป็นคนว่าง่าย - การฝึกตน บนเส้นทางอริยะ
ในสมัยพุทธกาล พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสถามครูฝึกม้าชื่อ เกสี ที่ไปเข้าเฝ้าพระองค์ว่า “ดูก่อนเกสี ใครๆก็รู้ว่าท่านเป็นครูฝึกม้าฝีมือดีคนหนึ่ง ท่านฝึกม้าอย่างไรเล่า” นายเกสีกราบทูลว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ การฝึกม้าของข้าพระองค์มี ๓วิธี คือ วิธีแรก ข้าพระองค์จะฝึกด้วยวิธีละม่อม ค่อยเป็นค่อยไป วิธีที่สอง ฝึกด้วยวิธีรุนแรง และวิธีสุดท้ายฝึกผสมกันทั้งสองวิธี”