จะเป็นอย่างไร เมื่อตายแล้ว ตอนที่ 23
เมื่อเหตุการณ์เป็นไปตามแผนที่วางไว้ พลทหารม้าฝีมือดีของพระราชาองค์ที่ออกบวชจึงยิงธนูหัวเจาะเกราะสังหารแม่ทัพของฝ่ายตรงข้าม
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 3
ท่านเสนกะนิ่งตรวจดูทิศอันเป็นมงคลอยู่ครู่หนึ่ง ด้วยกำลังคำนวณตามพยากรณ์ศาสตร์ที่ตนได้ร่ำเรียนมา ไม่ช้าก็กราบทูลทำนายประหนึ่งเห็นด้วยตาทิพย์ว่า“วันนี้เป็นวันที่บัณฑิตนั้นถือปฏิสนธิในครรภ์มารดา หรือมิฉะนั้นก็คงเป็นวันที่เขาคลอดจากครรภ์มารดา พระเจ้าข้า”
ผลชาดก ชาดกว่าด้วยความสามารถในการดูผลไม้
ณ นครสาวัตถี นอกฤดูพรรษาหนึ่งก่อนที่เหล่าภิกษุสงฆ์จะออกจาริกไปเผยแผ่พระพุทธธรรมตามนิคมแว่นแคว้นต่าง ๆ ชาวพระนครก็มักกราบอาราธนาพระพุทธองค์เสด็จรับภัตตาหารที่บ้านเรือนตนอยู่มิได้ขาด ครั้งหนึ่งทรงรับนิมนต์คหบดีเจ้าของสวนผลไม้ จึงเสด็จนำหมู่ภิกษุสงฆ์ไปตามการอาราธนานั้น ชาวสวนผลไม้จัดพระพุทธอาสนะให้พระพุทธองค์ประทับภายในเคหสถานของตนพร้อมกับพระเถระผู้ใหญ่
ชาวอินเดีย มาเยี่ยมวัดพระธรรมกาย
ภรรยารัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และความช่วยเหลือพิเศษแห่งแคว้นมหาราษฎร์อินเดีย พร้อมคณะ ได้มาเยี่ยมชมวัดพระธรรมกาย
ทุราชานชาดก ชาดกว่าด้วยภาวะของหญิงรู้ได้ยาก
มหานครสาวัตถี นครหลวงของแคว้นในสมัยที่พระพุทธศาสนากำลังเจริญรุ่งเรืองบนแผ่นดินชมพูทวีปนั้น มหาชนผู้เลื่อมใสในคำสอนแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าต่างหลั่งไหลกันมาทั้งไกลใกล้มิได้เว้นว่างยังนำเครื่องไทยธรรมอันประณีตถวายพระพุทธองค์และภิกษุสงฆ์
อารามทูสกชาดก ชาดกว่าด้วยความฉลาดอันไม่เป็นประโยชน์
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้เดินทางเผยแผ่พระธรรมในที่ต่างๆ ครั้งหนึ่งได้เสด็จไปที่แคว้นโกศล ครั้งนั้นมีภิกษุตามเสด็จไปด้วยมากมาย เมื่อองค์ศาสดาเดินทางมาถึงแคว้นโกศล ได้มีเศรษฐีผู้หนึ่งได้นิมนต์ให้พักที่บ้านของตน
โรมชาดก ชาดกว่าด้วยว่าด้วยอาชีวกเจ้าเล่ห์
ในพุทธกาลสมัยนั้น มีเรื่องราวหลากหลายเกิดขึ้น และมีผลกรรมเกี่ยวต่อผู้ที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาต่างกรรมต่างวาระกัน การแตกแยกของหมู่สงฆ์อันเป็นเรื่องสำคัญยิ่งที่เกิดขึ้นในแคว้นมคธ ซึ่งนับเป็นกรรม เป็นวิบากกรรมของพระเทวทัตที่ตามจองเวรต่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ราชองครักษ์ชาตินักรบ ตอนที่ 16 (ตอนจบ)
ย้อนกลับไปในพุทธันดรที่ผ่านมา...ตัวลูกก็ได้เกิดเป็น “กุลบุตรรูปงาม นามไพเราะ” อยู่ในตระกูลของข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ในแคว้นของพระราชาองค์ที่ออกบวช โดยตัวลูกจะเป็น...
กาฬยมุฏฐิชาดก ชาดกว่าด้วยโลภมาก
ในสมัยพุทธกาลเมื่อครั้งที่พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ประทับอยู่ ณ พระเชตะวันมหาวิหาร ทรงปรารภพระเจ้ากรุงโกศลแล้ว จึงตรัสพระธรรมเทศนาดังนี้ ครั้งนั้นในช่วงฤดูฝนได้เกิดการการกบฏขึ้นทางชายแดนของแคว้นโกศล
เบื้องต้นเบื้องปลายไม่ปรากฏ
ดูก่อนภิกษุ เราตถาคตจะยกอุปมาให้เธอฟัง สมมติว่า มีภูเขาศิลาลูกใหญ่ยาว ๑ โยชน์ กว้าง ๑ โยชน์ สูง ๑ โยชน์ ไม่มีช่อง ไม่มีโพรง เป็นแท่งทึบ มีบุรุษผู้หนึ่งนำเอาผ้าขาวบางมาจากแคว้นกาสี แล้วเอาผ้านั้นลูบภูเขา ๑๐๐ ปีต่อครั้งหนึ่ง การที่ภูเขาศิลาใหญ่แท่งนั้นจะถึงความสิ้นไป เพราะความพยายามของบุรุษนั้น ยังเร็วกว่าระยะเวลาหนึ่งกัป ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอท่องเที่ยวไปมาอยู่ในวัฏสงสาร มิใช่ ๑ กัป มิใช่ ๑,๐๐๐ กัป มิใช่ ๑๐๐,๐๐๐ กัป เป็นเพราะว่า วัฏสงสารนี้กำหนดที่สุดและเบื้องต้นมิได้