รายงานพิเศษ อัตชีวประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) ประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช เป็น
ธรรมทายาทหญิงรุ่นแรกของทวีปยุโรป
น้องๆได้เรียนรู้หลักธรรม และวัฒนธรรมชาวพุทธ รักษาศีลแปด สวดมนต์ทำวัตรเช้า-เย็น และฝึกสมาธิ นอกจากนี้ยังได้รับฟังธรรมะจากพระอาจารย์ และเรื่องที่บีบน้ำตาน้องๆมากที่สุดคือ “เรื่องพระคุณของพ่อแม่” ในช่วงนั้นเป็นบรรยากาศที่เหนือคำบรรยายค่ะ น้องๆซาบซึ้งกันมากจนร้องไห้ วันรุ่งเช้าตาบวมไปตามๆกันเลยค่ะ
กว่าจะเป็นธุดงค์ธรรมชัย ตอน กว่าจะราบรื่น
การทำหน้าที่จราจรนั้นไม่ใช่เพียงแค่โบกรถ แต่ต้องมีการวางแผนอย่างดี มีการสำรวจพื้นที่ ทำแผนที่ ติดต่อประสานงานกับเจ้าหน้าที่ตำรวจในพื้นที่ ติดตั้งป้ายบอกทางเลี่ยง ลานจอด จุดอันตรายต่างๆ และเมื่ออยู่บนเส้นทางธุดงค์ธรรมชัย
สพฐ.ดึงพ่อแม่-กก.นร.-เพื่อนช่วยแก้ปัญหาเด็กคลั่งเกมออนไลน์
เป็น อยู่ คือ... วิถีชาวบรูไน ตอนที่ 2
การแสดง การแสดงของบรูไนมีมากมาย ทั้งในส่วนที่เป็นของชาวมลายู ซึ่ง คล้ายคลึงกับประเทศเพื่อนบ้านอย่างมาเลเซีย อินโดนีเซีย และการที่เป็นของชนพื้นเมือง
บรรลุเป้า เข้าถึงธรรม
กระทั่งวันที่ 23 กันยายน วันที่ลูกได้ชิตังเมปิดโมดูล ลูกปลื้มมากโดยเฉพาะคำอวยพรของพระเดชพระคุณหลวงพ่อให้ลูกได้เข้าถึงธรรม ครั้นลูกกลับมาบ้านอธิษฐานจิตขอพรจากพระเดชพระคุณหลวงปู่ฯ จึงตั้งใจเพิ่มชั่วโมงนั่งธรรมะ จากวันละ 1ชั่วโมง เป็น 2ชั่วโมง
ชัยชนะครั้งที่ 1 (ตอนที่ 1 ชนะพญามาร)
พระจอมมุนีได้ชัยชนะพญามาร ผู้เนรมิตแขนตั้งพัน มีอาวุธครบมือ ขี่คชสารครีเมขล์พร้อมด้วยเสนามาร มาโห่ร้องกึกก้อง ด้วยธรรมวิธีมีทานบารมีเป็นต้น ด้วยเดชแห่งพุทธชัยมงคลนั้น ขอสรรพมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่าน...
สักครั้ง 'มากประโยชน์' 'อุปสมบท' 'บวช' มีดีมากกว่าบุญ
ในช่วงก่อนเข้าพรรษา ช่วงนี้ในประเทศไทยที่ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ หลาย ๆ ครอบครัวก็จะมีการจัดพิธี "อุปสมบท" หรือ "บวช" บุตรหลานที่เป็นผู้ชาย ที่อายุครบบวชแล้ว เป็น "พระภิกษุ" ซึ่งการบวชหรืออุปสมบทนั้นเป็น "สังฆกรรม" อย่างหนึ่งในพระพุทธศาสนา
เป็น อยู่ คือ...วิถีชาวอินโด ตอนที่ 2
การละเล่น การละเล่นที่มีมาแต่เก่าก่อนของชาวอินโดนีเซียมีหลายอย่าง ที่น่าสนใจคือ วายังกูลิต (Wayang Kulit) หรือที่นิยมเรียกกันว่า วายังเป็นการแสดงหุ่นเชิดฉายเงาบนจอคล้ายหนังตระลุง มีเครื่องดนตรีประกอบ 4 ชิ้น เค้าโครงเรื่องส่วนใหญ่มักเกี่ยวกับสงครามในศาสนาฮินดูที่เล่าสืบต่อกันมาของชาวชวาและชาวบาหลี ใช้หุ่นกว่า 60 ตัว ผู้พากย์จะต้องมีความชำนาญในการใช้ภาษากาวี ซึ่งเป็นภาษาโบราณที่ตัวละครฝ่ายดีพูด และภาษาบาหลีสำหรับตัวละครฝ่ายร้ายพูด