ศีล และ สมาธิ เป็นเรื่องสากล
พระธรรมเทศนา โดย พระภาวนาวิริยคุณ (หลวงพ่อทัตตชีโว) รองเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย
กุศลกรรมบถ ศีล..มารดาแห่งความดี
ศีล เป็นเขตแดน เป็นเครื่องปิดกั้นความทุจริต ทำ จิตให้ร่าเริงแจ่มใสและเป็นท่าหยั่งลงมหาสมุทร คือ นิพพานของ พระพุทธเจ้าทั้งหลาย เพราะฉะนั้น บุคคลพึงรักษาศีลให้บริสุทธิ์ (สีลวเถรคาถา)
สมาธิ เป็นสิ่งที่ทำได้ ถ้าได้ทำ
ที่ผ่านมาลูกนั่งสมาธิอย่างไม่มีเป้าหมาย ลูกคิดว่า นั่งสมาธิขอแค่ความสงบ ความสบายก็พอ คือ ขอแค่ให้ได้นั่ง นั่งคือนั่ง ส่วนจะนิ่งรึเปล่า ลูกดูเบาไม่เคยที่จะสังเกตวิธีการที่ทำใจให้นิ่ง และจะนึกเสมอว่า ถ้าจะนั่งเพื่อเข้าถึงพระธรรมกาย นั่นเป็นเรื่องยากสำหรับเรา ลูกคงไม่มีบุญขนาดนั้น ลูกจึงได้พบกับความปวด และความเมื่อยเป็นรางวัล
สมาธิ...ใครๆก็ทำได้ ถ้าได้ทำ
ตั้งแต่ก่อนเริ่มนั่งสมาธิ ดิฉันรู้สึกว่า อากาศที่ สวนเพชรแก้ว เย็นสบาย ทิวทัศน์งดงาม เขียวชอุ่ม ทุกที่มีเสียงแมลงและเสียงนกร้องให้เพลินใจ เมื่อดิฉันหลับตาวางใจนิ่งๆ ปล่อยใจให้ติดอยู่ที่ศูนย์กลางกาย สักพักใจก็หยุดนิ่งสนิทมาก สัมผัสได้ถึงความรู้สึกบางเบา และอ่อนนุ่มจริงๆค่ะ ร่างกายโล่ง โปร่ง ว่างเปล่า คล้ายแก้ว คล้ายเพชรใสๆ
อภินิหารของการทำโยคะ-สมาธิ บังคับยีนให้รวมหัวกันต้านเครียด
พุทธศาสนา ‘บูม’ ในรัสเซีย ชี้คำสอนพิสูจน์ได้จริง-เตรียมแปลพระไตรปิฎกรองรับ
สมาธิ ไม่ใช่การเปลี่ยนศาสนา
ตลอดเวลา 3วันที่เราเข้ามานั่งสมาธิ เราไม่ต้องทำอะไรเลย มีความเป็นอยู่ราวกับสวรรค์ กินๆ นั่งๆ นอนๆ ผมชอบมากครับ โดยเฉพาะเวลานั่งสมาธิ พระอาจารย์สอนให้ หายใจให้สุดที่กลางท้อง แล้วปล่อยความรู้สึกไว้ตรงนั้น เมื่อผมทำใจเฉยๆ ใจก็ว่างขึ้นมาเองอย่างช้าๆ จนความว่างเพิ่มปริมาณออกไปจนสุดขอบฟ้า แล้วตรงกลางท้องก็มีประกายแสงสว่างเกิดขึ้นมาเอง
บุญยิ่งใหญ่ที่ทำเองได้ง่ายๆ
แม้จะปลื้มใจกับบุญที่ได้ชักชวนผู้อื่นทำ อย่างไรเสียก็สู้บุญที่เราทำด้วยตัวเองไม่ได้ ความรู้สึกในใจบอกลูกอย่างนั้น แต่คนจนอย่างลูกจะไปเอาทรัพย์ที่ไหนมาทำบุญได้มากๆ พอคิดเช่นนี้ คำพูดของพระอาจารย์รูปหนึ่ง ที่ลูกเคยฟังธรรมจากท่าน ก็ดังขึ้นในใจ “บุญยิ่งใหญ่ที่ทำเองได้ง่ายๆ โดยไม่ต้องใช้ทรัพย์ก็มีอยู่นะ สมาธิ...ไงล่ะ” คำพูดนั้นเคยเป็นจุดเริ่มต้น ทำให้ลูกสนใจเริ่มหัดนั่งสมาธิ
แพทย์เตือนภัยติดตั้งถังแก๊สในรถเหมือนพกระเบิด3พันปอนด์
พุทธบุตรต้องสวมหัวใจความเป็นพระแท้ด้วย “สัมมาอะระหัง”
ช่วงนี้เป็นฤดูกาลแห่งการเข้าพรรษา ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่สำคัญในการฝึกฝนอบรมตนเองของพระภิกษุให้เป็นพระแท้ที่สมบูรณ์พร้อมทั้งกิจวัตรกิจกรรม เพื่อนำพาไปสู่การทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน โดยเฉพาะการฝึกฝนอบรมจิตถือเป็นการฝึกที่สำคัญที่สุดของพระ เพราะจิตที่สะอาดผ่องใสย่อมส่งผลให้ศีล สมาธิ ปัญญา และสมณสัญญาเต็มเปี่ยมบริบูรณ์ ซึ่งสิ่งที่จะช่วยให้การฝึกจิตเป็นไปอย่างก้าวหน้า รวดเร็ว ต้องอาศัยการภาวนา “สัมมาอะระหัง” กำกับตลอดเวลา