พลิกชีวิตด้วยบุญ..บวช ข่าวจากหนังสือพิมพ์ สยามรัฐ วันศุกร์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2554
ผมบวชทำให้มีโอกาสคุยธรรมะให้โยมแม่ฟังบ่อยๆทำให้ตอนนี้ท่านเลิกเล่นหวย เลิกหมกมุ่นในอบายมุข เลิกเชื่อในสิ่งงมงาย แล้วโยมแม่ก็ได้ใส่บาตรทุกวัน สวดมนต์ทุกวัน นั่งสมาธิทุกวัน
พลิกชีวิตด้วยบุญกฐิน ตอน เถ้าแก่ วัยกระเปี๊ยก
ผมเรียนรู้การเป็นเถ้าแก่ตั้งแต่ตัวกระเปี๊ยก เพราะตอนผมอายุ 15 ปี ผมก็ต้องเปิดแผงลอยขายของเล่นตามตลาดนัดด้วยตัวเอง ซึ่งผมบริหารงานเองทั้งหมด ตั้งแต่ไปหาซื้อของที่สำเพ็ง หาที่ตั้งแผงลอย คือ ทำเองทุกอย่าง และพอขายได้ก็เอามาทำบุญตั้งแต่ 1 บาท 20 บาท ถึง 100 บาทครับ แต่หลังจากคุณพ่อเสียแล้ว ผมก็ต้องหางานที่มีรายได้เพิ่มขึ้น คือ หลังเลิกเรียน..ก็มาทำงานติดต่อลูกค้าให้กับบริษัทฝึกอบรมสัมมนาแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นงานด้านการตลาด ซึ่งช่วงนั้นผมอายุแค่ 18 ปีเท่านั้น
เกาะติดสถานการณ์ธุดงค์ธรรมชัยเส้นทางพระผู้ปราบมาร ปีที่ 4 (12 มกราคม พ.ศ. 2558)
วันนี้เริ่มต้นความปลื้มกันที่วัดผาสุการาม กับอากาศเย็นๆ สบ๊ายสบาย หนาวนิดๆ จนหลายคนบอกว่ายังกับอยู่ที่สวิตเซอร์แลนด์เลย ซึ่งพระธุดงค์ 1,130 รูป ได้รับความเมตตาอย่างสูงจาก หลวงพ่อพระครูผาสุกกิจจาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดผาสุการาม ที่ออกมาโปรยดาวรวยส่งพระลูกพระหลานด้วยความเบิกบานใจ
เกาะติดบรรยากาศเดินธุดงค์ธรรมชัยปีที่ 2 วันที่ 10 มกราคม 2556
ทุกย่างก้าวของพุทธบุตรกองพันเนื้อนาบุญ 1,128 รูป เป็นก้าวย่างที่สำคัญและมีความหมายมาก ขณะนี้ได้เดินมาไกลเกินกว่า 100 กิโลเมตรแล้ว แต่ละก้าวสั่นสะเทือนไปทั่วภพสามเลย
รวยแต่วัยรุ่น เพราะทำบุญกฐิน
ผมถือหลักวิชชาที่หลวงพ่อสอนผมมาตลอด โดยตั้งเป้าหมาย แล้วเอาบุญเป็นที่ตั้ง
พลิกชีวิตด้วยบุญทอดกฐิน ตอน กลายเป็นเจ้าของกิจการแบบปุ้บปั้บ
หลังจากทำบุญไปแล้วปรากฏว่า เครื่องสำอางของผมขายดีอย่างเหลือเชื่อครับ และที่น่าอัศจรรย์ไปกว่านั้น ยอดขายได้พุ่งขึ้นอย่างไม่หยุดยั้ง จนขายได้ถึงวันละ 1 แสนบาท ทำให้ผมมีกำไรมากถึง 3-5 หมื่นบาทต่อวัน รวมแล้วมียอดขายต่อเดือนเป็นเลข 7 หลักอย่างเหลือเชื่อครับ
หลักวินิจฉัยว่าใครคือพุทธเถรวาท
หัวใจของพุทธศาสนาคือ พระรัตนตรัย เกณฑ์การวินิจฉัยว่าใครเป็นพุทธเถรวาทหรือไม่จึงอยู่ที่ว่า เขาเคารพบูชาพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ หรือไม่
แนวการสอนของวัดพระธรรมกาย
แนวการสอนของวัดพระธรรมกาย ยึดหลัก “อนุปุพพิกถา” ซึ่งเป็นแนวการสอนที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงใช้มากที่สุด เป็นการสอนไปตามลำดับ 5 ข้อ คือ
ตะกร้าไขปัญหา
หมดเวลามีแต่ Idea ถึงเวลา I do ก่อนจะสายเกินไป
หากลูกใช้เวลาหาทรัพย์หรือใช้เวลากับ Idea ความคิดที่จะทำ โดยไม่ลงมือ I do คือทำสักที สิ่งที่เกิดขึ้นก็คือความเสียดายและเสียใจไปตลอดชีวิตแน่นอน เพราะบุญใหญ่สร้างพระนี้คุณแม่อาจได้เพียงแค่อนุโมทนา ไม่ได้มีโอกาสจะถวายด้วยมือได้ปลื้มใจด้วยด้วยตัวของท่านเอง”