ผู้กำกับภาพยนตร์อินเดียจะสร้างภาพยนตร์เกี่ยวกับพระพุทธเจ้า 42 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ
วัดพระธรรมกายบาวาเรียจัดพิธีบูชาข้าวพระ
วัดพระธรรมกายบาวาเรีย ประเทศเยอรมนี จัดพิธีบูชาข้าวพระ และพิธีทอดผ้าป่าสร้างวัดพระธรรมกายบาวาเรีย
พิธีทอดกฐินไทย-เมียนมา ประจำปี 2566 จำนวน 46 วัด ทั่วเมียนมา
คณะสงฆ์พร้อมด้วยคณะศิษยานุศิษย์วัดพระธรรมกาย ในนามหลวงพ่อธัมมชโย ร่วมทอดกฐินสามัคคีประจำปีพุทธศักราช 2566 จำนวน 46 วัด ทั่วประเทศเมียนมา
อนาคตของเรานั้นถูกกำหนดไว้แล้วจริงหรือ
เมื่อมนุษย์เรามีความทุกข์ใจ หรือว่ามีปัญหา ก็มักจะไปพึ่งพาหมอดู จะเห็นได้ว่า โหราศาสตร์เข้ามามีอิทธิพลกับชีวิตของเราทุกด้าน แล้วอยากรู้กันไหมว่าโหราศาสตร์นั้นมีที่มากันอย่างไร
สร้างพระ ช้าไม่ได้ ต้องว่องไว ดุจสายฟ้า
“เธอไปอยู่ที่ไหนมา ฉันน่ะสร้างพระไปตั้งหลายองค์แล้วนะเธอรู้ไหม” หลังฟังถ้อยคำนี้ราวมีสายฟ้าฟาดที่กลางใจ “นี่ เรามาสายไปจริงๆ หรือนี่” หลังนิ่งอึ้งไปสักพัก ยอดหญิงแห่งกองทัพธรรม นามว่า จำเนียร เวลชินเออร์ ก็บอกตัวเองว่า “ไม่มีคำว่าสาย ตราบที่ลมหายใจยังมี เจดีย์ยังไม่ปิด เรามีสิทธิ์ชนะ”
รุกขธรรมชาดก-ชาดกว่าด้วยต้นไม้โดดเดี่ยวย่อมแพ้ลม
ในพุทธกาลครั้งหนึ่งได้เกิดเหตุร้าวฉานแตกสามัคคีถึงขั้นกลียุคขึ้นระหว่างเมืองพระญาติของพระพุทธเจ้า เหตุปัจจัยนั้นคือการแย่งน้ำในแม่น้ำโรหิณีที่พระอานนท์ตักถวายในห้วงเวลาก่อนเสด็จปรินิพพาน แม่น้ำสำคัญสายนี้เป็นพรมแดนกั้นกลางระหว่างนครกบิลพัสดุ์และเทวทหะ
ปัณฑรกชาดก-ชาดกว่าด้วยโทษการเปิดเผยความลับแก่ผู้อื่น
ปลายพุทธกาลวาระหนึ่ง เมื่อภิกษุในธรรมสภาปรารภถึงพระเทวทัตเถระซึ่งถูกทรณีสูบลงไปยังยมโลกเหตุเพราะก่อพุทธประหาร เทวทัตซึ่งนับเป็นพระญาติอันมากด้วยริษยาต่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้นี้ทรยศหักหลังมิตร
พลิกวิกฤต..เพราะคิดบวช
ในชีวิตของมนุษย์นั้น ช่วงเวลาที่กล่าวได้ว่า เป็นวิฤตที่สุดของชีวิต ก็คือ ช่วงเวลาสุดท้ายของชีวิต นั่นคือ ช่วงเวลาที่เราต้องเผชิญกับความตาย ซึ่งทุกท่าน ๆ ทราบดีอยู่แล้วว่า ทุกท่านนั้นต้องเผชิญกับช่วงเวลาวิกฤตนี้อย่างแน่นอน
วานรินทชาดก-ชาดกว่าด้วยธรรมของผู้ล่วงพ้นศัตรู
พุทธกาลสมัยในขณะที่พระธรรมคำสอนแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าขจรขจายไปทั่วแว่นแคว้นดินแดนชมพูทวีป ยังความร่มเย็นเป็นสุขด้วยรสแห่งธรรมที่องค์พระศาสดาตรัสรู้นั้น แผ่นดินมคธกลับผลัดเปลี่ยนอำนาจจากพระเจ้าพิมพิสารอันเป็นองค์ศาสนูปถัมภกมาเป็นโอรสนามพระเจ้าอชาตศัตรู
คารวะ ๖
ศัพท์ว่า "คารวะ" แปลกันว่า ความเคารพ หมายถึงความเอื้อเฟื้อ มักจะพูดติดต่อกันว่า ความเคารพเอื้อเฟื้อและมักจะใช้คู่กับคำว่า "นับถือบูชา" โดยความหมาย ก็คือ การปฏิบัติดีปฏิบัติชอบยกย่องเชิดชู ไม่ลบหลู่ดูหมิ่น ในบุคคลนั้นๆ และในธรรมนั้นๆ