ธุดงค์โบสถ์ดัวโม่ มิลาน
ธุดงค์โบสถ์ดัวโม่ มิลาน กิจวัตร กิจกรรมของสามเณรธรรมทายาทวัดพุทธมิลาน หลังจากบรรพชาแล้ว สวดมนต์ นั่งสมาธิ เรียนรู้เรื่องศีล ข้อควรปฏิบัติและควรละเว้นของสามเณร
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - มิตรภาพที่ยั่งยืน
พระโพธิสัตว์รู้ว่า นางนกกระเรียนนี้คงน้อยใจและกลัวความผิด จึงปลอบใจโดยตรัสว่า "ผู้ ใดก็ตาม เมื่อผู้อื่นทำกรรมอันชั่วร้ายแก่ตนและตัวเองก็ได้ทำตอบแทนไปแล้ว ก็ย่อมจะรู้สึกว่าเราทำตอบแทนแล้ว ขอให้เวรนั้นสงบลงด้วยอาการเพียงเท่านี้เถิด ท่านจงอยู่ในเมืองนี้ต่อไปเถิด อย่าไปเลย"
อานิสงส์ยกมือไหว้พระ
เราอาศัยอยู่ที่ภูเขาหิมพานต์ เรานุ่งห่มหนังสัตว์ อยู่ในระหว่างภูเขา เราได้เห็นพระสัมพุทธเจ้า ผู้มีพระฉวีวรรณดั่งทองคำ ดุจพระอาทิตย์แผดแสง เสด็จเข้าป่างามเหมือนพญารังมีดอกบาน จึงยังจิตให้เลื่อมใสในพระรัศมี แล้วนั่งกระโหย่งประณมอัญชลี ถวายบังคมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระนามว่า วิปัสสี ด้วยเศียรเกล้า ในกัปที่ ๙๑ แต่กัปนี้ เราไม่เคยพลัดตกไปสู่ทุคติเลย
รัตนตรัยที่พึ่งแหล่งสุดท้าย
พรหมจรรย์อันเรากล่าวดีแล้ว ผู้ปฏิบัติจะพึงเห็นเอง เป็นธรรมอันไม่จำกัดด้วยกาล ผู้ใดศึกษาโดยไม่ประมาท ผู้นั้นย่อมไม่เป็นโมฆ
มนุษย์มาจากไหน เหตุใดจึงเรียกว่ามนุษย์
การเวียนว่ายตายเกิดอยู่ใน 31 ภูมินั้น หากเราจะเปรียบเทียบสัตว์ที่อยู่ในภูมิอื่นๆ กับภูมิมนุษย์แล้ว จะพบว่า สัตว์ที่เกิดในภูมิมนุษย์นั้นมีจำนวนน้อยมาก
ผู้มีราตรีเดียวเจริญ
พึงทำความเพียรเสียในวันนี้แหละ ใครเล่าจะรู้ว่า ความตายจะมีในวันพรุ่ง เพราะว่าความผัดเพี้ยนกับมัจจุราชผู้มีเสนาใหญ่ ย่อมไม่มีแก่เราทั้งหลาย พระมุนีผู้สงบย่อมเรียกบุคคลผู้มีปกติอยู่อย่างนี้ มีความเพียร ไม่เกียจคร้านทั้งกลางวันและกลางคืน นั้นว่าผู้มีราตรีเดียวเจริญ
มหัศจรรย์วันออกพรรษา
พระจันทร์ พระอาทิตย์ ซึ่งปราศจากมลทิน ย่อมแจ่มกระจ่างในท้องฟ้า ซึ่งปราศจากเมฆฝน ฉันใด ข้าแต่พระองค์ ผู้มีพระรัศมีซ่านออกแต่พระสรีรกาย ผู้เป็นมหามุนี พระองค์ย่อมรุ่งเรืองล่วงสรรพสัตวโลก ด้วยพระยศ ฉันนั้น ดังนี้
พบ "วาฬออร์ก้า" 5ตัว โผล่ที่เกาะสุรินทร์
พระพุทธคุณ ตอน พระผู้เสด็จไปดีแล้ว
พระสุคต มาจากศัพท์บาลี คือ สุคโต แปลว่า เสด็จไปดี เสด็จไปงาม คือ พระองค์ทรงมีทางเสด็จที่ดีงามอันได้แก่ อริยมรรค และได้เสด็จไปสู่ที่ดีงาม คือ พระนิพพาน โดยทรงดำเนินรุดหน้าไป ไม่หวนกลับคืนมาสู่กิเลสที่ทรงละได้แล้ว
โลสกชาดก-ชาดกว่าด้วยโทษของความอิจฉาริษยา
ครั้งหนึ่งในสมัยพุทธกาล ณ ชนบทแคว้นโกศลมีหมู่บ้านชาวประมงประมาณ 1,000 ครอบครัว อาศัยอยู่ด้วยความผาสุกตลอดมา ครั้นต่อมาหญิงคนหนึ่งในหมู่บ้านได้ตั้งครรภ์ นับตั้งแต่นั้นมาทุกครอบครัวต่างก็ทำมาหากินฝืดเคืองลำบากมากขึ้นตามลำดับ