ประวัติพระพุทธเจ้า ตอนที่ 1
ประวัติพระสัมมาสัมพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน รูปภาพพระพุทธเจ้า การประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน สรุปประวัติพระพุทธเจ้า
ภพสาม คุกใหญ่ของสรรพสัตว์
ชนทั้งหลายบางพวก ย่อมเข้าถึงครรภ์ ผู้ทำบาปอกุศล ย่อมเข้าถึงนรก ผู้สั่งสมความดีเป็นเหตุสุคติ ย่อมไปสู่สวรรค์ ผู้ไม่มีกิเลสอาสวะ ย่อมปรินิพพาน
สมาธิมีผลต่อความสุขความสำเร็จของมนุษย์ทุกคนได้จริงหรือ
ความสำเร็จของชีวิตเกิดขึ้นได้ด้วยศาสตร์แห่งสมาธิ เพราะสมาธิเป็นพื้นฐานสำคัญของการศึกษา เรียกได้ว่าเป็นศาสตร์แขนงหนึ่งที่ทรงคุณค่ายิ่งต่อความสุขความสำเร็จของมนุษย์ทุกๆ คน
ครุกรรม (๒)
ผู้ใดไม่มีกรรมที่ทำชั่วทางกาย ทางวาจา และทางใจ เราเรียกผู้นั้น ซึ่งสำรวมดีแล้ว โดยฐานะทั้งสามว่าเป็นพราหมณ์
กาฬเทวิลดาบส
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัตตาวาสภูมิ และภวัคคพรหมมีประมาณเพียงไร พระอรหันต์ทั้งหลายเป็นผู้เลิศ เป็นผู้ประเสริฐสุดในโลก ยิ่งกว่าสัตตาวาสและภวัคคพรหมเหล่านั้น
อุทกดาบส อาฬารดาบส
เหล่าสัตว์ที่มีอำนาจแห่งบุญส่งเสริม ไปแล้วสู่กามภพ และรูปภพ หรือแม้ไปสู่ภวัคคพรหม ย่อมกลับสู่ทุคติอีกได้ เหล่าสัตว์มีอายุยืนถึงเพียงนั้น ก็ยังจุติเพราะสิ้นอายุ ภพไหนๆ ชื่อว่า เที่ยงไม่มี สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้แสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่ได้ตรัสไว้อย่างนี้
ภวัคคพรหม
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงครอบงำสรรพสัตว์เบื้องบนถึงภวัคคพรหม เบื้องล่างถึงอเวจีเป็นที่สุด เบื้องขวางในโลกธาตุอันหาประมาณมิได้ ด้วยศีลบ้าง ด้วยสมาธิบ้าง ด้วยปัญญาบ้าง ด้วยวิมุตติบ้าง ด้วยวิมุตติญาณทัสสนะบ้าง การจะชั่งหรือประมาณพระองค์ หามีไม่ พระองค์เป็นผู้ไม่มีใครเทียบเคียงได้ อันใครๆ ประมาณไม่ได้ เป็นผู้ยอดเยี่ยม เป็นพระราชาที่พระราชาทรงบูชา คือ เป็นเทพที่ยิ่งด้วยเทพ เป็นพรหมที่ยิ่งกว่าพรหมทั้งหลาย
สัญญาเวทยิตนิโรธ
อนุปุพพวิหาร คือธรรมเป็นเครื่องอยู่ตามลำดับ ๙ ประการ ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน อากาสานัญจายตนฌาน วิญญาณัญจายตนฌาน อากิญจัญญายตนฌาน เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน และสัญญาเวทยิตนิโรธ นี้คืออนุปุพพวิหาร ๙ ประการนี้
ชีวิตในสังสารวัฏ
เพราะไม่เห็นอริยสัจ ๔ ตามเป็นจริง เราและเธอทั้งหลายได้ท่องเที่ยวไปในชาตินั้นๆ ตลอดกาลนาน อริยสัจ ๔ เหล่านี้ เราและเธอทั้งหลายเห็นแล้ว ตัณหาที่จะนำไปสู่ภพถอนขึ้นได้แล้ว มูลแห่งทุกข์ตัดขาดแล้ว บัดนี้ภพใหม่ไม่มี
ธรรมกายมีลักษณะอย่างไรและเกิดขึ้นได้อย่างไร
ธรรมกายมีลักษณะเป็นมหาบุรุษครบครั้น ใสเป็นแก้วอยู่ในศูนย์กลางกาย มีลักษณะกายเนื้อของเจ้าชายสิทธัตถะทุกประการ แต่เป็นกายละเอียด