นักวิจัยสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย ได้รับคัดเลือกให้ไปนำเสนองานวิจัยเกี่ยวกับวิธีการทำสมาธิ
นักวิจัยสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย สำนักพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย ได้รับคัดเลือกให้ไปนำเสนองานวิจัย เกี่ยวกับวิธีการทำสมาธิ ที่งานประชุมใหญ่ครั้งที่ 19 ของสมาคมพุทธศาสตร์นานาชาติ IABS
หลักฐานธรรมกาย ในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๘)
ในช่วงสิ้นปีที่ผ่านมา คณะผู้บริหารและนักวิจัยได้เข้าร่วมการประชุมทางไกลข้ามทวีป (Video Teleconference) กับทีมงานวิจัยที่ปฏิบัติหน้าที่ภาคสนามอยู่ในหลายประเทศ เช่น ประเทศอังกฤษ สหรัฐอเมริกาจีน อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และนอร์เวย์ผลสรุปจากที่ประชุมมีดังนี้...
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๔)
ในชั้นนี้โดยรวมแล้วเราพบหลักฐานธรรมกายในประเทศไทยทั้งหมด ๑๔ ชิ้น แบ่งเป็นศิลาจารึก ๖ หลัก จารึกลานเงิน ๑ ชิ้นคัมภีร์จารึกใบลานหนังสือพับสารวม ๖ คัมภีร์และในรูปแบบหนังสืออีก ๑ เล่ม
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๑)
ในการนำเสนอสาระโดยย่อของประวัติศาสตร์ที่ยาวนานถึง ๒,๖๐๐ ปี อย่างต่อเนื่องหลายฉบับจนถึงยุคปัจจุบัน ผู้เขียนขออนุโมทนากับท่านผู้อ่านที่ให้ความสนใจติดตามมาโดยตลอด และฉบับนี้ผู้เขียนก็ขอเสนอบทความต่อจากฉบับที่แล้ว
หลักฐานธรรมกาย ในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๗)
เดือนตุลาคมที่ผ่านมานี้ ผู้เขียนได้รับเชิญจากเจ้าภาพ คือ ประธานพุทธสมาคมจีนให้เข้าร่วมประชุม World Buddhist Forum ครั้งที่ ๔ ที่เมือง Wu Xi ซึ่งมีผู้แทนองค์กรชาวพุทธถึง ๕๒ ประเทศเข้าร่วมประชุมในครั้งนี้นับว่าเป็นนิมิตหมายที่ดีที่พุทธบริษัทจะมารวมเป็นหนึ่งเดียว ในช่วงนี้จึงเป็นโอกาสดีที่ผู้เขียนจะเดินทางไปเมืองซีอานอีกครั้งหนึ่ง
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๒)
ผู้เขียนและคณะได้เรียบเรียงบทความที่สรุปโดยย่อ “เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา” ตั้งแต่ยุคเริ่มต้นจนถึงฉบับนี้ ยุคพุทธศตวรรษที่ ๑๙ นับเป็นเวลา ๑ ปีพอดีที่ได้นำเสนอสู่สายตาของเหล่าสมาชิกผู้ใจบุญทุกท่าน และเชื่อว่าคงเกิดภาพและความเข้าใจมากขึ้น ซึ่งผู้เขียนและคณะต่างปลื้มปีติที่ได้ประมวลเรื่องราวดี ๆ นี้ แล้วนำเสนอแด่ทุกท่านเป็นธรรมทาน
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๐)
การไปร่วมสัมมนาครั้งนี้ สืบเนื่องมาจากการที่สถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัยได้ร่วมลงนามทำสัญญาความร่วมมือ (MOU) กับทางวิทยาลัยสงฆ์นครน่านฯ เฉลิมพระเกียรติฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ และจากการลงนาม MOU นี้ ทำให้เรามีกิจกรรมร่วมกันหลาย โครงการแต่เน่อื งจากผู้เขียนยังนำเสนอบทความเส้นทางเผยแผ่พระพุทธศาสนาไม่สิ้นสุด จึงจะขอนำเสนอผลงานที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือของทั้ง ๒ ฝ่ายในอนาคต ในโอกาสนี้ขอเสนอบทความต่อจากฉบับที่แล้ว ดังนี้
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๓)
ผู้เขียนและคณะทีมงานของสถาบันฯมีความปลื้มปีติที่ได้แสดงความกตัญญูตอบแทนและประกาศเกียรติคุณของพระเดชพระคุณ-พระเทพญาณมหามุนี วิ. (หลวงพ่อธัมมชโย) ที่เป็นองค์สถาปนาสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัยซึ่งท่านมีมโนปณิธานมาเป็นเวลากว่า ๓๕ ปีว่าน่าจะมีใครสักคนหรือหลาย ๆ คนในองค์กรทำการค้นคว้าหาหลักฐานคำสอนดั้งเดิมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าโดยเฉพาะเรื่องธรรมกายเพื่อทำความจริงให้ปรากฏ
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๖)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนได้นำเสนอผลงานวิจัยการค้นพบ หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณที่ประเทศไทย ฉบับก่อนหน้านั้น ผู้เขียนมีความเชื่อมั่นว่า ท่านผู้อ่านที่ติดตามเรื่องราวมาตลอด และผู้ใคร่ต่อการศึกษา นักวิชาการเมื่อได้อ่านบทความและรับทราบถึงข้อมูลที่สมบูรณ์ด้วยเหตุผลพร้อมหลักฐานที่นำเสนอแล้วนั้น
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๔)
ผู้เขียนและคณะนักวิจัยของสถาบันดีรี (DIRI) ได้นำเสนอเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนามาอย่างต่อเนื่องประจำทุก ๆ เดือนผ่านมาได้ ๓ ฉบับแล้ว แต่การเผยแผ่พระพุทธศาสนายังมีเรื่องราวอีกมาก ในฉบับนี้ผู้เขียนจึงขอนำเสนอ ประวัติของเส้นทางเผยแผ่พระพุทธศาสนา ต่อเนื่องจากฉบับที่แล้ว