มงคลที่ ๓ บูชาบุคคลที่ควรบูชา - สักการะรอยพระพุทธบาท
ผลแห่งบุญนี้ น่าอัศจรรย์เหลือเกิน เราได้เห็นรอยพระบาทที่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระนามว่า ติสสะ ทรงประทับรอยไว้ เป็นผู้มีใจร่าเริงโสมนัส ยังจิตให้เลื่อมใสในรอยพระบาท ในกัปที่ ๙๒ แต่กัปนี้ เราไม่เคยไปสู่สุคติเลย นี้เป็นผลแห่งการสักการะรอยพระพุทธบาท
มุทุลักขณชาดก-ชาดกว่าด้วยกามกิเลสคือต้นเหตุแห่งความเศร้าหมอง
สมัยพุทธกาลผ่านมาพระเชตะวันมหาวิหารของพระบรมศาสดาร่มเย็นเป็นที่พึ่งพาของเวไนยสัตว์อย่างทั่วถึง ดุจแสงจันทร์วันเพ็ญอันสว่างนวลทั่วปริมณฑล แต่จันทร์กระจ่างฟ้าก็หาทำความรื่นรมย์ได้ทั่วทุกคนไม่ ยังมีภิกษุหนุ่มชาวสาวัตถีรูปหนึ่งกำลังกลัดกลุ้มอยู่กับความทุกข์ภายใต้แสงจันทร์นวลทุกราตรี
นันทชาดก-ชาดกว่าด้วยความมานะถือตัว
เมื่อฤดูฝนอย่างกรายมาถึงพระภิกษุทั้งหลายก็อยู่จำพรรษาตามพุทธบัญญัติ มิได้ออกเที่ยวจาริกที่ใดๆได้ตามปกติเป็นเวลานาน 3 เดือน ครั้นวสันตฤดูผ่านพ้นภิกษุในพระเชตะวันมหาวิหารก็พร้อมที่จะเดินทางออกไปเผยแผ่พุทธธรรมดังที่เคยกระทำต่อเนื่องกันมาอีกครั้ง
ชัยชนะครั้งที่ 2 (ตอน ชนะอาฬวกยักษ์)
พระจอมมุนีได้ชัยชนะต่ออาฬวกยักษ์ ผู้มีจิตสันดานหยาบกระด้าง ปราศจากความอดทน มีฤทธิ์มาก ได้เข้ามาต่อสู้จนตลอดทั้งคืน ด้วยวิธีทรมานอย่างดี คือ พระขันติธรรม ด้วยเดชแห่งชัยชนะของพระพุทธเจ้านั้น ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่านเถิด...
ชัยชนะครั้งที่ 4 (ตอน ชนะองคุลิมาล)
พระผู้มีพระภาคเจ้าจอมมุนี ทรงใช้ฤทธิ์ทางใจ ให้เป็นอิทธาภิสังขาร ทรงชนะองคุลิมาล ผู้แสนโหดเหี้ยมร้ายกาจ มีฝีมือฉกรรจ์ ถือดาบวิ่งไล่พระองค์ สิ้นทาง ๓ โยชน์ ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน
ชัยชนะครั้งที่ 5 (ตอน ชนะการถูกกล่าวหาจากนางจิญจมาณวิกา)
พระพุทธเจ้าผู้เป็นจอมมุนี ได้ทรงชนะคำกล่าวร้ายของนางจิญจมาณวิกา ผู้ทำอาการเหมือนหญิงมีครรภ์ ได้ทำไม้สัณฐานกลมผูกติดไว้ ด้วยวิธีที่งดงาม คือความสงบพระทัยในท่ามกลางมหาชน ด้วยเดชแห่งพุทธชัยมงคลนั้น ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน
ความสุขอันอิ่มเอม บนเส้นทางธรรม ของ ภัทริน ซอโสตถิกุล
ธุดงค์ คือ อะไร
ธุดงค์ คืออะไร หลังออกพรรษาก็ถึงคราที่พระภิกษุสงฆ์จะเที่ยวจาริกไปในที่ต่างๆ เพื่อหาสถานที่อันสัปปายะ เพื่อเจริญสมณธรรม รวมทั้งเผยแผ่ธรรม ซึ่งเรามักจะได้ยินว่าออก ‘ธุดงค์’
อานิสงส์ถวายที่นอน
หากมีที่นอนที่นุ่มนวลประณีตก็จะทำให้สรีระร่างกายนี้ได้พักผ่อนอย่างเต็มที่ อย่ากระนั้นเลย เราควรสร้างที่นอนแด่พระบรมศาสดา
The benefits from studying on True Friend characteristics
“…the wise man [pandita] knows four kinds of True Friends well. They are: The Helpful Friend [upakaraka], the Constant Friend [samanasukhadukkha]