เส้นทางมหาปูชนียาจารย์
เส้นทางมหาปูชนียาจารย์ คือ เส้นทางของสถานที่สำคัญ 6 แห่ง ที่เกี่ยวเนื่องกับพระเดชพระคุณหลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ครูผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๒๔)
ดังเป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่าบทธัมมจักกัปปวัตนสูตรนั้นเป็นบทพระธรรมเทศนาที่พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงเป็นครั้งแรกแก่ปัญจวัคคีย์ หลังจากที่ตรัสรู้ได้เพียง ๒ เดือน ณ.....
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - ผู้ข้ามพ้นวัฏฏะ
ครั้นพระบรมศาสดา ทรงแก้ปัญหาอันลุ่มลึกที่ปุณณกะได้ทูลถามแล้ว ปุณณกะเป็นผู้มีดวงปัญญาสว่างโพลง เป็นปัญญาบริสุทธิ์ที่เข้าใจเนื้อความของพระผู้มีพระภาคเจ้าได้อย่างแจ่มแจ้ง ท่านมีธรรมจักษุบังเกิดขึ้น ทั้งจักขุ ญาณ ปัญญา วิชชา อาโลโก แสงสว่างที่ไม่มีประมาณได้ขจัดความมืดในจิตใจของท่านให้หมดสิ้นไป จนสามารถรู้แจ้งเห็นจริงในสรรพสิ่งทั้งหลายไปตามความเป็นจริงได้ และกิเลสอาสวะถูกขจัดไป สิ้นเชื้อไม่เหลือเศษ ได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ในครั้งนั้น
แสงสว่างกลางดวงจันทร์
จุดสว่างกลางดวงจันทร์ ไม่ได้อยู่แบบไร้ที่อยู่ แต่อยู่ในกลางของความว่างทรงกลมที่ใหญ่มาก ดิฉันสัมผัสได้ถึงขนาดอันใหญ่มหึมาของมัน ใหญ่จนกระทั่งบอกไม่ได้เลยว่า มันมีขอบเขตสุดไปถึงไหน จุดสว่างกลางกายได้นำความรู้สึกสุขสงบที่ท่วมร่างกายทุกส่วน เป็นความสวยงามของชีวิตที่ได้ทำสมาธิ และเห็นดวงจันทร์ภายในศูนย์กลางกาย
หมวดทั่วไป
หมวดศัพท์ปฏิบัติธรรม
วัดพระธรรมกายฟลอริดาจัดพิธีบูชาข้าวพระและพิธีบูชาครูผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย
วัดพระธรรมกายฟลอริดา ประเทศสหรัฐอเมริกา จัดพิธีบูชาข้าวพระและพิธีบูชาครูผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย
135 ปี พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร)
พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ฉายา จนฺทสโร หมายถึง ผู้นำแสงสว่างมาสู่โลก ประดุจพระจันทร์ส่องสว่างยามราตรี เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ฝ่ายวิปัสสนาธุระ มีนามตามสัญญาบัตรประกอบพัดยศสมณศักดิ์ว่า พระมงคลเทพมุนี ศรีรัตนปฏิบัติ สมาธิวัตรสุนทร มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี
วัดพระธรรมกาย ชมวัดพระธรรมกาย แผนที่วัดพระธรรมกาย
ชมวัดพระธรรมกาย สถานที่ต่างๆ ภายในวัดพระธรรมกาย วัดพระธรรมกายสร้างขึ้นภายใต้แนวคิด “สร้างวัดให้เป็นวัด สร้างพระให้เป็นพระ และสร้างคนให้เป็นคนดี” ตามหลักปฏิรูปเทส 4 ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ธรรมกายมีลักษณะอย่างไรและเกิดขึ้นได้อย่างไร
ธรรมกายมีลักษณะเป็นมหาบุรุษครบครั้น ใสเป็นแก้วอยู่ในศูนย์กลางกาย มีลักษณะกายเนื้อของเจ้าชายสิทธัตถะทุกประการ แต่เป็นกายละเอียด