การที่พระเวสสันดรให้บุตรธิดาเป็นทานแก่ชูชกแล้วลูกๆ ของท่านก็ได้รับความลำบากนั้น การให้ทานแบบนี้เป็นเรื่องที่ถูกต้องหรือไม่
การที่พระเวสสันดรให้พระโอรส พระธิดาเป็นทานไปนั้น เพราะท่านเป็นผู้มีปัญญามาก ต้องตัดใจทิ้งลูกทิ้งเมีย เพื่อรบกับกิเลส ชนะกิเลสครั้งนี้ ลูกเมียจะเดือดร้อนอย่างมากก็แค่ชาตินี้ ชาติต่อไปจะไม่มีคำว่าเดือดร้อนอีกแล้ว ทรงมองเห็นอย่างนี้ จึงทำอย่างนั้น พวกเราเวลาพิจารณาอะไร อย่าเอาภาวะฐานะที่ตัวเองเป็นอยู่ไปตัดสินใครเขา
เทศกาลออกพรรษาที่เชียงตุง
พระพุทธศาสนาในเชียงตุง เราจะไม่ทอดทิ้งกัน แม้ว่าจะมีความหลากหลายของเชื้อชาติ และเผ่าพันธุ์ แต่วัดคือศูนย์รวมจิตใจ ให้ชาวเชียงตุงเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยไม่จำกัดว่า วัดนี้เป็นของใคร ส่วนใหญ่ชาวเชียงตุงจะมีวัดที่ไปบ่อยๆ หรือเป็นวัดที่บรรพบุรุษช่วยกันสร้าง แต่ประเพณีของเรา จะปลูกฝังให้ชาวเชียงตุงรักการทำบุญ และนิยมไปทำบุญกันหลายๆวัด จะเอาประเพณีเป็นตัวผลักดัน เรียกว่า สุข-ทุกข์ ก็ให้ไปวัด แม้ไม่มีอะไรมีแต่มือเปล่าก็มาวัดได้
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - ผู้ข้ามพ้นวัฏฏะ
ครั้นพระบรมศาสดา ทรงแก้ปัญหาอันลุ่มลึกที่ปุณณกะได้ทูลถามแล้ว ปุณณกะเป็นผู้มีดวงปัญญาสว่างโพลง เป็นปัญญาบริสุทธิ์ที่เข้าใจเนื้อความของพระผู้มีพระภาคเจ้าได้อย่างแจ่มแจ้ง ท่านมีธรรมจักษุบังเกิดขึ้น ทั้งจักขุ ญาณ ปัญญา วิชชา อาโลโก แสงสว่างที่ไม่มีประมาณได้ขจัดความมืดในจิตใจของท่านให้หมดสิ้นไป จนสามารถรู้แจ้งเห็นจริงในสรรพสิ่งทั้งหลายไปตามความเป็นจริงได้ และกิเลสอาสวะถูกขจัดไป สิ้นเชื้อไม่เหลือเศษ ได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ในครั้งนั้น
ขอเรียนเชิญร่วมพิมพ์วารสารธรรมธารา เล่มที่ 7
ขอเรียนเชิญร่วมพิมพ์วารสารธรรมธารา เล่มที่ 7 มอบเป็นธรรมบรรณาการแก่สถาบันการศึกษา หมดเขตส่งรายชื่อจารึก วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2561
เป็น อยู่ คือ... วิถีชาวอินโด
เป็น อยู่ คือ... วิถีชาวอินโด ประชากร ส่วนใหญ่เป็นสายมาเลย์ประมาณร้อยละ 95 ที่เหลือเป็นอินโด อาหรับ จีน และชาวยุโรป แต่ถ้าแบ่งตามหลักฐานชาติวงศ์วิทยาแล้ว ถือว่ามีต้นกำเนิดมาจาก 365 เชื้อชาติ รวมกันเป็นกลุ่มใหญ่ได้ 4 กลุ่ม คือ เมเลเนเซียน (Melanesians) โปรโตออโตรเนเซียน (Proto – Autronesians) โพลีเนเซียน (Polynesians) และโมโครเนเซียน (Micronesians) ชาวอินโดนีเซียจะมีตาคม ผมดำ ผิวสีน้ำตาล กระดูกแก้มกว้าง ตาเล็ก จมูกใหญ่ มีความสูงประมาณ 5 – 6 ฟุต ใกล้เคียงกับความสูงของคนไทย
ประวัติพระพุทธศาสนาในไต้หวัน
วัดฝอกวงซัน ปฐมเจ้าอาวาสวัดฝอกวงซัน คือ พระธรรมาจารย์ซิงหวิน ได้เคยเดินทางมาวัดพระธรรมกายและเซ็นสัญญาเป็นวัดพี่วัดน้องกับคุณครูไม่ใหญ่ ในวันมาฆบูชาปีพ.ศ.2537 ปัจจุบันเป็นวัดที่มีความสามารถในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ได้ผลดีที่สุดในไต้หวัน มีนักบวช 1,200รูป
แผนที่ และผังจราจร เส้นทางเดินพระธรรมยาตรา ปีที่ 11
แผนที่ และผังจราจร เส้นทางเดินพระธรรมยาตรา โครงการธรรมยาตรา เส้นทางพระผู้ปราบมาร ปีที่ 11 กตัญญูบูชา มหาปูชนียาจารย์ พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) พระผู้ปราบมาร อนุสรณ์สถาน 7 แห่ง (อัปเดตข้อมูลทุกวัน) และสำหรับสาธุที่เช็คอินครบ 7 แห่ง จะได้รับของที่ระลึกพิเศษ