มส.บำเพ็ญกุศล สมเด็จพระพุทธชินวงศ์
คณะกรรมการมหาเถรสมาคม บำเพ็ญกุศล สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ อดีตเจ้าอาวาสวัดมกุฎกษัตริยาราม กรรมการมหาเถรสมาคม และผู้รักษาการแทนเจ้าคณะใหญ่ธรรมยุต
คณะสงฆ์จีนนิกายสวดพระพุทธมนต์อุทิศอดีต ผอ.พศ.
คณะสงฆ์จีนนิกาย วัดมังกรกมลวาส ร่วมสวดพระพุทธมนต์อุทิศส่วนกุศลแก่นาง
มรณสติ!!!พระธรรมวโรดมกรรมการมส.วัดเบญจฯมรณภาพแล้ว
พิธีพระราชทานน้ำหลวงอาบศพ นางจุฬารัตน์
วัดมกุฎกษัตริยาราม จัดพิธีพระราชทานน้ำหลวงอาบศพ อดีตผู้อำนวยการสำนักงาน
ศิลา…อาถรรพ์
พระภิกษุรูปหนึ่ง ท่านรักในการอยู่ธุดงค์ ปลีกวิเวก...เมื่อครั้งที่ท่านได้เดินทางไปที่วัดเก่าแก่แห่งหนึ่ง ท่านได้ไปพบหินสีดำ มีลักษณะคล้ายเสมา จึงเอ่ยปากขอลอยๆ แล้วนำติดตัวกลับมาวัดที่ท่านพำนักอยู่...หลังจากนั้นก็เกิดเหตุการณ์ผิดธรรมชาติหลายอย่าง และเมื่อเวลาท่านนั่งสมาธิ ท่านยังเห็นนิมิตประหลาดอีกด้วย...7วันต่อมา ในขณะที่สาธุชนราว 30ชีวิต กำลังร่วมกันปฏิบัติธรรม ได้เกิดพายุฝนฟ้าคะนองอย่างน่ากลัว ผู้คนพากันแตกตื่น หอฉันซึ่งยังสร้างไม่เสร็จได้พังลงมา
ทศชาติชาดก เรื่อง พระเตมีย์ ผู้ยิ่งด้วยเนกขัมมบารมี ตอนที่ 1
อาชีพนั้น เราก็สามารถเลือกได้ และเมื่อทำไปแล้ว เกิดไม่ชอบใจขึ้นมา ก็สามารถเปลี่ยนอาชีพใหม่ได้ไม่ยากนัก แต่วิชาชีวิตนั้น คนส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยรู้กันเลยว่า ต้นแบบชีวิตที่ดีที่สุดนั้นเป็นเช่นไร ควรจะเลือกดำเนินชีวิตอย่างไร และทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีคุณค่าสูงสุด
วิถีสมณะบนเส้นทางสายศรัทธา
การเดินธุดงค์ธรรมชัยของพระธรรมทายาทภาคฤดูร้อน รุ่นที่ 39 (รุ่นอุดมศึกษา) เพื่อไปพัฒนาวัดและโปรดญาติโยมในเขตจังหวัดสุพรรณบุรี
เป้าหมายชีวิตของมนุษย์
เป้าหมายชีวิตนั้นมีความสำคัญมาก เพราะเป็นจุดหมายปลายทางของการดำเนินชีวิตของเรา หากเรามีเป้าหมาย ความคิด คำพูด และการกระทำทุกอย่างในแต่ละวันจะมุ่งไปสู่เป้าหมายที่เราตั้งไว้ หากเราไม่ต้งั เป้าหมายชีวิตไว้ เราก็จะไม่ต่างอะไรกับนกกาที่หากินเพื่อความอยู่รอดไปวันหนึ่ง ๆ เมื่อหมดอายุขัยก็ตายจากโลกนี้ไป คนมีเป้าหมายชีวิตเปรียบเสมือนเรือเดินสมุทรที่มีหางเสือ มีกัปตันคอยชี้ทางว่าจะนำเรือมุ่งหน้าไปทางไหน เรือเดินสมุทรลำนี้จึงต่างจากขอนไม้ที่ล่องลอยอย่างไร้จุดหมายอยู่กลางทะเล ถูกคลื่นลูกนั้นลูกนี้ซัดไปมาให้เคว้งคว้าง และผุพังจมไปตามกาลเวลา
ครุฑ ภุมมเทวา รุกขเทวา อากาสเทวา คือใคร?
มรณภาพและละสังขาร: ความหมายและความแตกต่างในบริบททางพระพุทธศาสนา
บทความนี้กล่าวถึงความหมายและความแตกต่างของคำว่า 'มรณภาพ' และ 'ละสังขาร' ในบริบททางพระพุทธศาสนา เพื่อแสดงถึงความเคารพและเกียรติยศต่อผู้ล่วงลับ