ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 3
“เมื่อก่อนข้าพระองค์ไม่เคยคิดเป็นศัตรูต่อเจ้าพี่เลย ทั้งไม่เคยแปรพักตร์คิดแย่งชิงราชสมบัติ แต่พระเจ้าพี่เชื่อฟังคำยุยงของอำมาตย์ผู้ใกล้ชิด จะสำเร็จโทษข้าพระองค์ บัดนี้ หม่อมฉันจะขอราชสมบัติหละ เจ้าพี่จะมอบราชสมบัติให้แก่หม่อมฉันหรือจะรบจงรีบตอบมา”
ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 2
ผู้ที่เป็นใหญ่คุมกำลังอำนาจ พึงสังวรให้ดีว่า หากไม่ฝึกกองกำลังนั้นให้มีศีลธรรมตั้งมั่นอยู่ในใจ ไม่ฝึกให้เป็นคนที่มีระเบียบวินัย ในไม่ช้ากองกำลังของตนนั้นก็จะทำให้ตนเดือดร้อนจนได้ เหมือนที่พระโปลชนกทรงประสบอยู่ในขณะนี้
ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 1
วันนี้ เราจะได้มาศึกษาประวัติการสร้างบารมีของพระโพธิสัตว์ในอีกพระชาติหนึ่ง คือ พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี คือ อุปนิสัยอันเต็มเปี่ยมด้วยความเพียร อย่างเอาชีวิตเป็นเดิมพัน หากจะถามว่า ทำไมจึงต้องทำความเพียรอย่างอุกฤษฏ์เช่นนั้น อย่างเช่น ในเรื่องพระเตมีย์ที่ผ่านมา แม้จะถูกทดลองด้วยวิธีการต่าง ๆ ทำอย่างไรพระองค์ก็ยังทรงนิ่งเฉย
ให้ดวงบุญนั้นช่วย : มรดกธรรมของหลวงปู่วัดปากน้ำ
เมื่อต้องภัยได้ทุกข์อะไร จรดอยู่ดวงบุญนั้น ให้ดวงบุญนั้นช่วย อย่าไปนึกถึงสิ่งอื่นนะ นึกถึงบุญกุศลที่ตนกระทำนั่นแหละ เป็นที่พึ่งของตัวจริง ช่วยตัวได้จริง ๆ
โพชฌงค์ ๗ ทางสำเร็จสู่นิพพาน
โพชฌงค์ ๗ อันบุคคลเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว ย่อมยังวิชชาและวิมุตติ ให้บริบูรณ์ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมเจริญสติสัมโพชฌงค์ อันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธะ น้อมไปในจาคะคือการสละ เจริญธัมมวิจยสัมโพชฌงค์..เจริญวิริยสัมโพชฌงค์...เจริญปีติสัมโพชฌงค์.เจริญปัสสัทธิสัมโพชฌงค์...เจริญสมาธิสัมโพชฌงค์..เจริญอุเบกขาสัมโพชฌงค์ อันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธะน้อมไปในจาคะ โพชฌงค์ ๗ นี้อันบุคคลเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว ย่อมยังวิชชาและวิมุตติให้บริบูรณ์ได้
สามเณรนิโครธ (๒)
หากว่าบุคคลมีธรรมประดับแล้ว เป็นผู้สงบแล้ว ฝึกตนแล้ว เป็นคนเที่ยงตรง เป็นพรหมจารี เลิกอาชญากรรมในสัตว์ทั้งปวง พึงประพฤติธรรมสมํ่าเสมอ ผู้นั้นก็ชื่อว่าเป็นพราหมณ์ ผู้นั้นก็ชื่อว่า เป็นสมณะ ผู้นั้นก็ชื่อว่า เป็นภิกษุ
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 92 การสร้างบารมีสิบทัศในเชิงปฏิบัติ
การสร้างบารมี 10 ทัศทั้ง 3 ระดับในเชิงปฏิบัติ สามารถแบ่งออกเป็น 10 ประการ ซึ่งพระโพธิสัตว์จะต้องสร้างบารมีอย่างเอาชีวิตเป็นเดิมพัน
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 85 ขันติบารมี
ขันติบารมี คือ ความอดทนอดกลั้นต่ออุปสรรคและความยากลำบากต่างๆ รวมถึงอดทนต่อคำนินทาว่าร้ายและคำสรรเสริญเยินยอ
แนวคิดการบำเพ็ญบารมี_5
ดูก่อนสุเมธดาบส ท่านพึงบำเพ็ญแม้ปัญญาบารมีให้บริบูรณ์ ท่านอย่าได้เว้นใครๆ เลย ไม่ว่าจะเป็นคนชั้นล่าง ชั้นกลาง และชั้นสูง พึงเข้าไปหาบัณฑิตทั้งหมด ไต่ถามปัญหา ภิกษุผู้ถือเที่ยวบิณฑบาตเป็นวัตร เดินไปบิณฑบาตตามลำดับตรอก ไม่ละเว้นตระกูลใดๆ ไม่ว่าจะเป็นตระกูลชั้นไหน ได้อาหารพอยังชีพ ฉันใด แม้ท่านก็ฉันนั้น เข้าไปหาบัณฑิตทั้งปวง ไต่ถามปัญหา จักได้เป็นพระพุทธเจ้า
มงคลที่ 38 - จิตเกษม - พากเพียรเถิดให้เกิดบุญบารมี
พระบรมศาสดาซึ่งประทับอยู่ในพระคันธกุฎี ได้เห็นความตั้งใจจริงของนาง จึงแผ่พระรัศมีออกไป เหมือนประทับนั่งอยู่ต่อหน้า แล้วตรัสพระธรรมเทศนาว่า "ผู้ใดไม่เห็นธรรมอันยอดเยี่ยม พึงเป็นอยู่ 100ปี ความเป็นอยู่วันเดียวของผู้เห็นธรรมอันยอดเยี่ยม ประเสริฐกว่าความเป็นอยู่ของผู้นั้น"