ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 189
ภายหลังจากถวายราชสมบัติแด่องค์รัชทายาทแล้ว มโหสถก็หวนรำลึกถึงคำปฏิญญาของตนที่ได้ถวายไว้แด่พระเจ้าจุลนีว่า “เมื่อใดพระเจ้าวิเทหราชเสด็จสวรรคต และหากว่าตนยังมีชีวิตอยู่ เมื่อนั้นแหละ ตนถึงจะมีโอกาสได้รับใช้พระเจ้าจุลนี”
มงคลที่ ๓๒ ประพฤติพรหมจรรย์ - ถึงเวลาแล้ว
พระราชาทอดพระเนตรผมหงอกของตน ทรงสลดพระทัยในความเสื่อมของสังขารร่างกาย จึงตัดสินพระทัยออกผนวชเพื่อแสวงหาโมกขธรรม ทรงพระราชทานรางวัลให้ช่างกัลบก และประทานโอวาทแก่พระโอรสว่า "ลูกรัก ผมหงอกเส้นนี้ เสมือนเทวทูตมายืนอยู่ตรงหน้าของพ่อ พ่อได้รับความสุข จากสิริราชสมบัติมามากพอแล้ว ถึงเวลาที่ต้องออกแสวงหาความสุขภายในอันเป็นอมตะ
มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - ละวางเบญจกามคุณ
โสณกะได้ยินเสียงดนตรี ก็รู้เหตุการณ์โดยตลอด จึงรีบหลบเข้าไปในที่กำบัง ปุโรหิตได้ให้เจ้าพนักงานประโคมดนตรี เพื่อเฉลิมฉลองพระราชาองค์ใหม่ และกราบทูลถวายพระราชสมบัติ พร้อมทั้งอภิเษกพระโพธิสัตว์ให้เป็นพระราชา ณ ที่อุทยานนั้นเอง เมื่อเสด็จเข้าสู่พระราชวังพร้อมด้วยอิสริยยศอันยิ่งใหญ่ ทรงลืมโสณกะผู้เป็นพระสหายอย่างสนิท
มงคลที่ ๒๗ มีความอดทน - อดทนให้ถึงที่สุด
พระกุมารทรงระลึกชาติหนหลัง ก็รู้ว่าก่อนที่ตนจะมาเกิดในพระราชฐานนี้ ได้จุติมาจากเทวโลก และทรงระลึกย้อนไปอีกว่า ก่อนที่จะอยู่ในเทวโลก ได้มาจากมหานรกขุมหนึ่ง และก่อนที่จะตกนรก ได้ เคยเกิดเป็นพระราชาอยู่ในแคว้นนี้เอง จึงทรงดำริว่า ถ้าเราครองราชสมบัติอีก ก็จะต้องสร้างกรรม และต้องเสวยทุกข์ใหญ่ในมหานรกอีกอย่างแน่นอน
มงคลที่ ๒๖ ฟังธรรมตลอดกาล - สละชีวิตเพื่อฟังธรรม
พระฤๅษีจึงตอบว่า ถ้าเรายังดำรงอยู่ในราชสมบัติ เราจะบูชาธรรมท่านด้วยทรัพย์สมบัติ แก้วแหวนเงินทองเป็นอันมาก และจะยกราชสมบัติทั้งหมดพร้อมด้วยเศวตฉัตรให้ท่าน แต่บัดนี้เราเป็นนักบวชเหลือแต่เพียงร่างกาย และผ้าคลุมกายนี้เท่านั้น เรามีชีวิตเลือดเนื้อเป็นสมบัติ ถ้าหากท่านปรารถนา เราจะบูชาธรรมด้วยชีวิตนี้แหละ
มงคลที่ ๒๕ มีความกตัญญู - บุญคุณต้องทดแทน
พระกุมารคิดว่า ถ้าเราได้เป็นกษัตริย์แล้ว จะฆ่าพระฤๅษีองค์นี้ให้ได้ จึง กล่าวว่า พระคุณเจ้าผู้เจริญ เมื่อกระผมได้ครองราชสมบัติแล้ว ขอให้ท่านไปหากระผม กระผมจะบำรุงอุปัฏฐากรับใช้ท่านอย่างไม่ให้ขาดตกบกพร่องเลย แล้วก็ลากลับเมือง เมื่อพระกุมารกลับเข้าพระนครไม่นาน ก็ทรง ขึ้นครองราชย์ต่อจากพระราชบิดา
มงคลที่ ๑๖ ประพฤติธรรม - เวลาอันทรงคุณค่ายิ่ง
มีพระราชาพระองค์หนึ่งพระนามว่า “เอสุการี” พระองค์มีปุโรหิตเป็นสหายรักตั้งแต่ครั้งยังทรงพระเยาว์ ทั้งพระราชาและปุโรหิตต่างไม่มีพระโอรสที่จะสืบสกุล วันหนึ่ง พระราชาและปุโรหิตปรึกษาหารือกันว่า ถ้าหากบุตรของใครเกิดก่อน บุตรของคนนั้นจะได้ครอบครองราชสมบัติ
ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 18
เมื่อพระโพธิสัตว์เจ้าเสด็จออกจากพระนครไปได้ระยะ หนึ่ง ก็มีพระดำริว่า เราจะให้พระเทวีและมหาชนกลับในบัดนี้ จึงทรงหยุดพระดำเนิน แล้วหันมาตรัสถามผู้ที่ติดตามพระองค์มาว่า “ราชสมบัติในมิถิลานครเป็นของใคร” เหล่าอำมาตย์ก็กราบทูลว่า “เป็นของพระองค์ พระเจ้าข้า” “ถ้าเช่นนั้น พวกท่านจงลงราชทัณฑ์แก่ผู้ที่ข้ามรอยที่เราจะขีดนี้”
ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 17
พระเทวีได้ทูลอ้อนวอนว่า “พระองค์ทรงละทิ้งพวกหม่อมฉัน เสด็จหนีไปแต่ผู้เดียว ทรงทำอย่างนี้ไปเพื่ออะไร พวกหม่อมฉันมีความผิดอะไรหรือ พระองค์มุ่งเสด็จไปประดุจว่าปราศจากราชสมบัติเสด็จออกผนวช”
มุทิตาจิต กับ อนุโมทนา ต่างกันอย่างไร
บทความนี้อธิบายความแตกต่างระหว่างมุทิตาจิตและอนุโมทนา ทั้งในด้านความหมาย การแสดงออก และอานิสงส์ของการมุทิตาและอนุโมทนา การมีจิตยินดีในความดีของผู้อื่นเป็นคุณธรรมที่ควรส่งเสริมในสังคม