ธุดงค์ คือ อะไร
ธุดงค์ คืออะไร หลังออกพรรษาก็ถึงคราที่พระภิกษุสงฆ์จะเที่ยวจาริกไปในที่ต่างๆ เพื่อหาสถานที่อันสัปปายะ เพื่อเจริญสมณธรรม รวมทั้งเผยแผ่ธรรม ซึ่งเรามักจะได้ยินว่าออก ‘ธุดงค์’
ธุดงค์ธรรมชัย ทุกย่างก้าวบำเพ็ญสมณธรรม
ธุดงค์ธรรมชัย ทุกย่างก้าวบำเพ็ญสมณธรรม ตามที่ได้เคยพบเห็นพระธุดงค์กันมาแต่โบราณ พระธุดงค์ต่างเดินจาริกเข้าไปในป่า ปักกลดบำเพ็ญสมณธรรมในป่า อาจจะดูแปลกๆ ที่โครงการธุดงค์ธรรมชัยบนเส้นทางมหาปูชนียาจารย์ ปีที่ 3 นี้กลับเดินเข้าไปในระแวกชุมชน
พระมหากัสสปเถระ (๑)
ชนผู้ปรารถนาอายุ วรรณะ ยศ เกียรติ สวรรค์ ความเกิดในตระกูลสูง และความเพลินใจ พึงทำความไม่ประมาทให้มากยิ่งขึ้น บัณฑิตทั้งหลายย่อมสรรเสริญความไม่ประมาทในการทำบุญ บัณฑิตผู้ไม่ประมาทแล้ว ย่อมยึดถือประโยชน์ทั้งสองไว้ได้ คือประโยชน์ในปัจจุบัน และประโยชน์ในสัมปรายภพ
พระอัญญาโกณฑัญญะ ผู้รัตตัญญู (๑)
ภิกษุผู้สันโดษ ย่อมเป็นผู้อยู่เป็นสุขในทิศทั้ง ๔ และเป็นผู้ไม่หงุดหงิด สันโดษด้วยปัจจัยตามมีตามได้ ครอบงำอันตรายทั้งหลาย ไม่หวาดเสียว เทียวไปคนเดียวดังนอแรด
หลวงปู่วัดปากน้ำ พระมงคลเทพมุนี ผู้เอาชีวิตเป็นเดิมพันในการปฏิบัติธรรม
หลวงปู่วัดปากน้ำภาษีเจริญ ผู้มีความเพียรเอาชีวิตเป็นเดิมพัน ค้นพบวิชชาธรรมกายให้หวนกลับคืนมาอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งพระพุทธองค์ทรงสรรเสริญพระภิกษุผู้ทำความเพียรอย่างเอาชีวิตเป็นเดิมพัน
ความโกรธทำให้เสียประโยชน์
คนผู้โกรธย่อมประพฤติในสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์ ย่อมไม่รู้จักความเจริญ ย่อมมีภัยที่เกิดขึ้นแล้วในภายใน แต่คนผู้โกรธนั้นย่อมไม่รู้สึก เพราะคนโกรธย่อมไม่รู้อรรถ ไม่เห็นธรรม และย่อมขาดสติ จึงพลั้งพลาดไปก่อกรรมทำเข็ญ ภายหลังเมื่อหายโกรธแล้ว เขาย่อมเดือดร้อนเหมือนถูกไฟไหม้
เทพบุตรมาร (๒)
รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น สัมผัสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยกาย ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ อันน่ารักน่าปรารถนาน่าใคร่ น่าพอใจ อาศัยความใคร่ ชวนให้กำหนัดมีอยู่ หากภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่สรรเสริญ ไม่หมกมุ่น ไม่พัวพันอยู่ในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสและธรรมารมณ์ ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ไม่ไปสู่ที่อยู่ของมาร ไม่ตกอยู่ในอำนาจของมาร ไม่ถูกมารครอบงำ เป็นผู้พ้นจากบ่วงมาร ภิกษุนั้น มารผู้มีบาปพึงใช้บ่วง ทำตามความปรารถนาไม่ได้
รักษาใจ
ธรรมชาติของใจนั้น สุดแสนจะว่องไว พร้อมจะท่องเที่ยวไปได้ทุกที่ทุกเวลา แม้แต่ช่วงเวลาเพียงเล็กน้อย ใจก็อาจลอยไปจนตามไม่ทัน ผู้ที่ไม่ระวังรักษาใจ ปล่อยให้ฟุ้งซ่าน จึงมีชีวิตที่...
ตอแห่งวัฏฏะ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราไม่พิจารณาเห็นธรรมแม้สักอย่างหนึ่งที่จะมีโทษมาก เหมือนอย่างมิจฉาทิฏฐินี้เลย ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย โทษทั้งหลายมีมิจฉาทิฏฐิเป็นอย่างยิ่ง
พระธุดงค์มาโปรดแล้ว
การอยู่ธุดงค์ของพระธุดงค์ทั้งหลาย คือ การบำเพ็ญตบะเพื่อการขจัดกิเลสที่ยิ่งยวดกว่าการประพฤติธรรมทั่วไป เป็นการปฏิวัตินิสัยของตัวเอง จากที่เคยเลี้ยงยากกลายเป็นอยู่ง่ายกินง่าย จากนิสัยที่ชอบฟุ่มเฟือยก็จะเหลือเพียงปัจจัยสี่ที่จำเป็น