อัธยาศัยของมนุษย์ (๒)
บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้มักโกรธ มากไปด้วยความแค้นใจ ถูกว่าแม้เล็กน้อยก็ขัดเคืองฉุนเฉียว กระฟัดกระเฟียดกระด้างกระเดื่อง แสดงความโกรธความขัดเคือง และความไม่พอใจให้ปรากฏ แต่เขาเป็นผู้ให้ทาน คือ ข้าว น้ำ ผ้า ยวดยาน ระเบียบของหอม เครื่องลูบไล้ ที่นอน ที่อยู่อาศัย และประทีปโคมไฟ แก่สมณพราหมณ์ และไม่เป็นผู้มีใจริษยาในลาภ สักการะ ความเคารพ ความนับถือ การไหว้ และการบูชาของผู้อื่น ไม่กีดกัน ไม่ตัดรอน ไม่ผูกความริษยา ถ้าบุคคลนั้น จุติจากอัตภาพนั้นไปสู่สัมปรายภพ แล้วกลับมาเกิดอีก ย่อมเป็นผู้มีผิวพรรณทราม รูปไม่งาม แต่จะเป็นคนมั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคสมบัติมากและสูงศักดิ์
มหาสมัยสูตรครั้งที่ 2 (ตอนรายนามเหล่าเทวา)
สติของชนเหล่าใด แล่นไปแล้วในพระพุทธเจ้าเป็นนิตย์ ทั้งกลางวัน และกลางคืน ชนเหล่านั้น เป็นสาวกของพระโคดม ตื่นอยู่ด้วยดีในกาลทุกเมื่อ
อัธยาศัยของมนุษย์ (๑)
บัณฑิตพึงทราบ จริตทั้งหลาย โดยอิริยาบถ โดยกิจ โดยการบริโภค โดยอาการ มีการดู เป็นต้น และโดยความเป็นไป แห่งธรรมนั่นแล
วิสัยทัศน์วัดพระธรรมกาย “ ศีลธรรมดีถ้วนหน้า ภายในปี 2563"
วิสัยทัศน์วัดพระธรรมกาย กับการสร้างศีลธรรมดีถ้วนหน้า ภายในปี 2563
ภาษากาย
เรียนรู้วิธีการสื่อสารท่าทาง กิริยาที่แสดงออกมา เรื่องใกล้ตัวที่ไม่เคยรู้มีวิธีสังเกตยังไงบ้าง
จิต
คำว่า " จิต " ตามหลักคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า หมายถึง สภาพรู้ อาการรู้ลักษณะรู้แจ้งอารมณ์ เป็นใหญ่เป็นประธานในการรู้แจ้งอารมณ์ และคำว่า จิตนี้ยังมีชื่อที่ใช้แทนคำว่าจิตในบางแห่งอีกมาก เช่น ใจ มโน มานัส ปัณฑระ หทัย วิญญาณวิญญาณขันธ์ มนายตนะ เป็นต้น ในชีวิตประจำวันของเรา จะทราบได้ว่าผู้ที่ยังไม่ตายมีชีวิตอยู่ เป็นผู้มีจิตเกิดดับต่อเนื่องไปจนกว่าจะตาย ฉะนั้น จิตคือ สภาพรู้ทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ
เซ็งกดขี่วรรณะตลอดชาติ จัณฑาลแห่เปลี่ยนถือ "พุทธ"
วัดพระธรรมกายโตเกียว จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมไทย-พุทธ
วัดพระธรรมกายโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ได้จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมไทย-พุทธ ครั้งที่ 11
โครงการธรรมยาตรา "พลิกฟื้นคืนพุทธ สุวรรณภูมิสู่พุทธภูมิ" รุ่นที่ 1 เริ่มขบวนธรรมยาตรา ณ เมืองตาคลี และโบรี ประเทศอินเดีย
คณะพระธรรมยาตรา โครงการธรรมยาตรา รุ่นที่ 1 "พลิกฟื้นคืนพุทธ สุวรรณภูมิสู่พุทธภูมิ" เริ่มขบวนธรรมยาตรา วันที่ 2 ผ่านเมืองตาคลี และโบรี ประเทศอินเดีย พุทธศาสนิกชนต้อนรับตลอดเส้นทาง
การควบคุมจิตด้วยปัญญา
ถ้าเรามีจิตไม่ถูกปรุงแต่ง ก็เรียกว่า เรามีจิตเป็นพุทธะขึ้นมา เป็นผู้รู้ขึ้นมาทันที รู้อะไรถูกต้องขึ้นมาแล้วก็เป็นตัวเองอย่างแท้จริง สภาพมันอยู่คงที่หน้าตาของมันดั้งเดิม ของมันปรากฏอยู่อย่างนั้น ไม่ถูกฉาบไปด้วยกิเลส เรียกว่า ไม่ถูกปรุงแต่ง สภาพจิตมันเป็นอย่างนั้น...