อานิสงส์การจุดประทีปถวายเป็นพุทธบูชา
การบูชา คือ การแสดงออกในลักษณะของความเลื่อมใสศรัทธา มีการยกย่องเชิดชูทั้งทางกาย วาจา และใจ ด้วยความนอบน้อมทั้งต่อหน้าและลับหลัง การแสดงต่อหน้าเป็นการแสดงออกถึงความเคารพและตระหนักในคุณธรรมความดีของบุคคลที่เราบูชา อย่างจริงใจ
อานิสงส์ถวายประทีป
การบูชาบุคคลผู้ควรบูชาเป็นมงคลอย่างยิ่ง
คาถากันยักษ์ ตอนที่ ๑
พระพุทธเจ้าเหล่าใด ผู้ดับแล้วในโลก ทรงเห็นแจ้งแล้วตามความเป็นจริง พระพุทธเจ้าเหล่านั้นเป็นผู้ไม่ส่อเสียด เป็นผู้ยิ่งใหญ่ปราศจากความครั่นคร้าม เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย นอบน้อมพระพุทธเจ้าพระองค์ใด ผู้โคตมโคตร ทรงเกื้อกูลแก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ทรงถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เป็นผู้ยิ่งใหญ่ปราศจากความครั่นคร้าม
สัญญาแห่งความเลื่อมใส
ท่านจงเจริญพุทธานุสติ อันยอดเยี่ยมกว่าภาวนาทั้งหลาย ท่านเจริญพุทธานุสตินี้แล้ว จักยังใจให้เต็มได้
อานิสงส์บูชาการอุบัติขึ้นของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
การอุบัติเกิดขึ้นของพระพุทธเจ้าทั้งหลายนำสุขมาให้ ดวงจันทร์ในคืนวันเพ็ญโคจรไปในอากาศ สว่างกว่าหมู่ดวงดาวด้วยกำลังแห่งรัศมี เฉกดังพระชินสีห์เมื่ออุบัติในโลก รุ่งโรจน์กว่าสัตว์ทั้งมวล
การสะสมพระเครื่องโดยไม่ยุ่งเกี่ยวกับไสยเวทจะได้บุญไหม
เหตุใดสามีจึงชอบสะสมพระเครื่อง การสะสมพระเครื่องโดยไม่ยุ่งเกี่ยวกับไสยเวทเลยจะได้บุญไหม
อานิสงส์ปลูกต้นโพธิ์เป็นพุทธบูชา
ผู้ใดปลูกต้นโพธิ์นี้ และกระทำพุทธบูชาโดยเคารพ ผู้นั้นย่อมเข้าถึงอานิสงส์ใหญ่ไม่มีประมาณ จักได้เสวย เทวรัชสมบัติในเทวโลกตลอด ๓๐ กัป และจักได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ๖๔ ครั้ง เสวยสมบัติทั้งสองแล้วจักรื่นรมย์ อยู่ในความเป็นมนุษย์ ผู้นั้นมีใจแน่วแน่เพื่อความเพียร สงบระงับ ไม่มีอุปธิ กำหนดรู้อาสวะทั้งปวงแล้วจักไม่มีอาสวะ ได้บรรลุพระนิพพาน
อัศจรรย์วันพระในเทวโลก
ตลอดเวลา 1 เดือน ตั้งแต่ข้างแรมจนถึงวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ ในทุกเขตของมนุษยโลก จะมีเจ้าหน้าที่เขตระดับภุมมเทวา ตรวจดูความดีของมนุษย์ แล้วบันทึกในแผ่นลานทอง รวบรวมนำเสนอหัวหน้าเขตภุมมเทวาตามสายการปกครอง
วันวิสาขบูชา ตอน วันตรัสรู้
วันวิสาขบูชา Vesak Day ตอน วันตรัสรู้ ดูก่อนภิกษุทั้งหลายอกบุรุษเมื่ออุบัติขึ้นในโลกย่อมอุบัติเพื่อเกื้อกูลแก่ชนเป็นอันมากเพื่อความสุขของมหาชนเพื่ออนุเคราะห์โลกเพื่อความสุขแก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลายเอกบุรุษ คือ พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
สัมมา อะระหัง กับความหมายของคำภาวนา
ความหมายของคำว่า.. “สัมมา อะระหัง” คำว่า “สัมมา อะระหัง” เป็นภาษาบาลี มีศัพท์ควบคู่กันอยู่ 2 ศัพท์ คือ “สัมมา” และ “อะระหัง