มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - ไม่ประมาทในธรรม
พระบรมศาสดาของเราทรงย้ำเตือนให้พุทธบริษัทไม่ประมาทในชีวิต ให้เร่งรีบสั่งสมบุญบารมี และฝึกฝนใจให้หยุดนิ่ง จะได้หลุดพ้นจากอาสวกิเลสซึ่งเป็นเหตุให้เกิดความทุกข์ทรมาน *เหมือนในสมัยหนึ่ง มีภิกษุบวชใหม่จำนวน ๕๐๐ รูป เนื่องจากส่วนใหญ่เป็นพระบวชใหม่ จึงมีจิตใจฟุ้งซ่าน เพราะอินทรีย์ยังไม่แก่กล้า
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - อย่างหลงใหลเพลิดเพลิน
สมัยหนึ่งในกรุงราชคฤห์ มีหญิงงามเมืองผู้มีความงดงามคนหนึ่ง ชื่อ สิริมา ได้เคยประทุษร้ายต่อนางอุตตรา ซึ่งเป็นลูกสาวของท่านปุณณเศรษฐี เมื่อสำนึกผิดแล้วได้ขอโทษนางอุตตรา และทูลขอขมาโทษพระบรมศาสดาด้วย ในวันนั้น หลังจากได้ฟังพระธรรมเทศนาจากพระบรมศาสดาว่าพึงชนะคนโกรธ ด้วยความไม่โกรธ พึงชนะคนไม่ดี ด้วยความดี พึงชนะคนตระหนี่ ด้วยการให้
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - สังฆทานประเสริฐกว่าปาฏิปุคคลิกทาน
ถ้าภิกษุผู้อยู่ใกล้บ้าน เป็นผู้ฟุ้งซ่าน ไม่ตั้งใจประพฤติพรหมจรรย์ ก็ต้องถูกตำหนิเหมือนกัน ส่วนภิกษุใดแม้จะพำนักอยู่ที่วัดใกล้บ้าน ไม่ได้เป็นผู้บิณฑบาตเป็นวัตร ไม่ได้สมาทานธุดงควัตร ไม่ได้ถือผ้าบังสุกุลเป็นวัตร แต่เป็นผู้ไม่ฟุ้งซ่าน สำรวมอินทรีย์ มีกาย วาจา ใจ สะอาดบริสุทธิ์ ก็สมควรได้รับการสรรเสริญ ภิกษุรูปนั้นเป็นทักขิไณยบุคคลอันเยี่ยม
มงคลที่ ๑๔ ทำงานไม่คั่งค้าง - เพียรจนสำเร็จประโยชน์
การทำสมาธิเป็นเรื่องที่ผ่อนคลาย นักวิทยาศาสตร์ทางการแพทย์ได้ยืนยันว่า การปล่อยวางความคิดให้ใจปลอดโปร่งเบาสบายนั้น มีผลดีต่อภาวะอารมณ์ในเชิงบวก และยังช่วยเสริมสร้างระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายอีกด้วย นักจิตวิทยายังค้นพบว่า สมาธิช่วยให้สามารถควบคุมสถานการณ์ต่างๆ ได้เป็นอย่างดี และทำให้อารมณ์แจ่มใส สามารถรับมือกับความเครียดที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้อย่างดีเยี่ยม
ทศชาติชาดก เรื่องเนมิราช ผู้ยิ่งด้วยอธิษฐานบารมี ตอนที่ 17
มหาชนได้ฟังพระราชาตรัสเล่าเรื่องราวของสัตว์นรก และบาปกรรมที่ทำให้ต้องไปตกนรกเช่นนั้น ก็เกิดความหวาดกลัวบาปกรรม ต่างรับปากกับพระเจ้าเนมิราชว่า จะไม่ทำบาปอกุศลอย่างนั้นอีกต่อไป
มงคลที่ ๓ บูชาบุคคลที่ควรบูชา - การบูชาที่แท้จริง
พระธรรมารามเถระ แปลว่า ผู้ยินดีในการปฏิบัติธรรม เมื่อ ท่านรู้ว่า อีกไม่นานพระพุทธองค์จะปรินิพพาน ก็มีความคิดว่า ตัวเราเองยังไม่บรรลุคุณวิเศษอะไรเลย อีกไม่นานพระพุทธองค์ก็จะปรินิพพานแล้ว อย่ามัวเสียเวลาเลย เราจะบูชาธรรมพระพุทธองค์ด้วยการปฏิบัติธรรมให้บรรลุอรหัตให้ได้ โลกทั้งโลกของท่านมีแต่การทำหยุดในหยุดอย่างเดียว ลมหายใจของท่านเป็นไปเพื่อการหยุดนิ่งเท่านั้น
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฏฐิ ( ๓ )
"ระหว่างพระพุทธเจ้ากับท่านอุรุเวลกัสสปะ ใครหนอจะมีอานุภาพมากกว่ากัน" พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงล่วงรู้ความคิดของชาวเมือง จึงตรัสถามท่านว่า "ดูก่อนกัสสปะ ท่านเคยเป็นอาจารย์สั่งสอน หมู่ชฎิลผู้ผ่ายผอมเพราะกำลังประพฤติพรต ท่านเห็นอะไรจึงได้ ละไฟที่เคยบูชาเสียเล่า ท่านเห็นประโยชน์อะไรจึงมาประพฤติพรหมจรรย์กับเรา"
ทบทวนบุญมหากฐิน ๒๕๔๙