UG 5 (ความดีพื้นฐานสากล 5 ประการ)
UG 5 (ความดีพื้นฐานสากล 5 ประการ) คือ คุณลักษณะพื้นฐานที่มนุษย์ทุกคนต้องมี เพื่อพัฒนาตนเองให้มีคุณภาพ และพัฒนาสังคมให้มีความเจริญงอกงาม และอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข โดยคุณลักษณะเหล่านี้จะต้องฝึกฝนเป็นประจำทุกวันจนเป็นนิสัย
ขอเชิญร่วมเจ้าภาพจัดพิมพ์ หนังสือมงคลชีวิต 38 ประการ และหนังสือมงคลชีวิต บัณฑิตน้อย
ขอเชิญร่วมสร้างปัญญาบารมี ด้วยการเป็นเจ้าภาพจัดพิมพ์ หนังสือมงคลชีวิต 38 ประการ และหนังสือมงคลชีวิต บัณฑิตน้อย ฉบับอนุบาลและฉบับประถม เพื่อมอบให้แก่เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการ “ตอบปัญหาธรรมะทางก้าวหน้า”
ทนทุกข์ทรมานมาข้ามภพข้ามชาติ ตอนที่ 9
บุญจากการบวชเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนาเป็นบุญใหญ่ ที่ส่งผลให้บุพการีในปรโลก มีความสุขยิ่งๆขึ้นไป
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : ความดี 4 ประการ
ความดี ๔ ประการ ที่ผู้ครองเรือนพึงมี เมื่อมีขึ้นแล้วจะประสบแต่ความสุข เมื่อเป็นผู้ครองเรือนต้องขยัน ไม่ขยันคนอื่นก็เหยียดหยามได้ ทำกิจของตนเองด้วยความหมั่นเพียร ไม่ปล่อยปละธุระ ขยันหาทรัพย์ รู้จักเก็บ รู้จักใช้ ชีวิตก็ปลอดภัยมีสุข
เรื่องของคนชอบชนไก่ ตอนที่ 6
ในพุทธันดรก่อนๆโน้น โยมพ่อของลูกได้เกิดเป็นกุลบุตรรูปงามอยู่ในครอบครัวที่มีฐานะทั่วๆไป อีกทั้งยังได้มาเจอกับหมู่คณะอีกด้วย
พิธีมอบพระบรมสารีริกธาตุบรรจุภายในพระเกตุสมโภชองค์พระประธาน 3 ประเทศ
หลวงพ่อทัตตชีโว เมตตาเป็นผู้แทนมอบพระบรมสารีริกธาตุ เพื่ออัญเชิญไปบรรจุภายในพระเกตุขององค์พระประธาน ในพิธีสมโภช จำนวน 3 วัด 3 ประเทศ
วัดคุณหญิงส้มจีน
วัดคุณหญิงส้มจีน แรกสร้างเมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๗๘ ในฝั่งตะวันออกของคลองหนึ่ง บนที่ดินของหม่อมแผ้วซึ่งบริจาคให้จำนวน 20 ไร่ ต่อมาพระยาเขื่อนเพชร -เสนากับคุณหญิงส้มจีน อุณหะนันท์ ได้ถวายที่ดิน ๔๐๐ ไร่เศษ อยู่ฝั่งตรงข้ามกับวัดเดิมจึงย้ายวัดมาสร้างที่ใหม่และตั้งชื่อวัดว่า "วัดคุณหญิงส้มจีน"
มหาโควินทสูตร (ตอนที่ 1 เทวสันนิบาต)
ความพร้อมเพรียงของหมู่เป็นเหตุแห่งสุข และการสนับสนุนผู้พร้อมเพรียงกัน ก็เป็นเหตุแห่งสุข ภิกษุผู้ยินดีในความพร้อมเพรียงกัน ตั้งอยู่ในธรรม ย่อมไม่เสื่อมจากธรรมอันเกษมจากโยคะ ภิกษุสมานสงฆ์ให้พร้อมเพรียงกันแล้ว ย่อมบันเทิงในสรวงสวรรค์ตลอดกัป
การตาย 4 ประเภท เหตุให้เกิดความตาย 4 ประการ
เหตุให้ความตายเกิดมี 4 ประการ การตายมีด้วยกัน 4 ประเภท สิ้นอายุ สิ้นกรรม สิ้นทั้งสอง กรรมตัดรอน ตายแล้วไปไหนจะรู้ได้อย่างไร เลือกได้อย่างไร
นั่งขัดสมาธิอยู่ในครรภ์พระมารดา - พุทธประวัติ
พุทธประวัติ พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน