มงคลที่ ๑๖ ประพฤติธรรม - เวลาอันทรงคุณค่ายิ่ง
มีพระราชาพระองค์หนึ่งพระนามว่า “เอสุการี” พระองค์มีปุโรหิตเป็นสหายรักตั้งแต่ครั้งยังทรงพระเยาว์ ทั้งพระราชาและปุโรหิตต่างไม่มีพระโอรสที่จะสืบสกุล วันหนึ่ง พระราชาและปุโรหิตปรึกษาหารือกันว่า ถ้าหากบุตรของใครเกิดก่อน บุตรของคนนั้นจะได้ครอบครองราชสมบัติ
กากชาดก ชาดกว่าด้วยการผูกอาฆาต
เจ้ากาหัวรั้น ผู้ไม่ยอมเชื่อฟังคำตักเตือนของสหาย ได้ก่อเหตุถ่ายรดศีรษะของพราหมณ์ปุโรหิตด้วยความตั้งใจที่จะกลั่นแกล้ง จึงก่อให้เกิดความอาฆาตขึ้นในใจของพราหมณ์ปุโรหิตและเป็นเหตุให้เหล่าพวกพ้องพีน้องกาทั้งหลายต้องพากันเดือดร้อนกันถ้วนหน้า
ให้ทุกข์แก่ท่าน ทุกข์นั้นถึงตัว
บุคคลทำกรรมใด ย่อมมองเห็นกรรมนั้นในตน ผู้ทำกรรมดี ย่อมได้ผลดี ผู้ทำกรรมชั่ว ย่อมได้ผลชั่ว บุคคลหว่านพืชเช่นใด ผลย่อมงอกขึ้นเช่นนั้น
เผยปฏิทินหลวงนางสงกรานต์ปี 54 ชื่อ กิริณีเทวี
จากคำทำนายค่อนข้างออกไปร้ายมากกว่าดี แต่นางสงกรานต์กิริณีเทวีนั่งมาบนหลังช้าง ซึ่งถือเป็นสัตว์ใหญ่ที่เป็นมงคลจะช่วยขับไล่สิ่งร้ายๆ ให้ออกไป และยังทัดดอกมณฑาเป็นดอกไม้ทิพย์อยู่บนสวรรค์
เวสารัชชธรรม ๔
พระพิชิตมารผู้ถึงที่สุดโลก ทรงทำโลกทั้งหลายให้ยินดีด้วยพระรัศมี พระองค์ยังดอกปทุม คือ เวไนยสัตว์ให้บานด้วยพระดำรัส ทรงสมบูรณ์ด้วยเวสารัชชธรรม ๔ เป็นอุดมบุรุษ ละความกลัวและความยินดีได้เด็ดขาด ทรงถึงธรรมอันเกษม องอาจกล้าหาญ พระผู้เลิศในโลก ทรงปฏิญาณซึ่งฐานะของผู้องอาจและพุทธภูมิทั้งสิ้น ไม่มีใครจะทักท้วงได้ในฐานะไหนๆ
มหาบุรุษ อัครบุรุษแห่งโลก
บรรดาสัตว์ทั้งหลายในโลกนี้ ทั้งที่เป็นสัตว์ ๒ เท้า ๔ เท้า มีเท้ามาก เท้าน้อย หรือไม่มีเท้าก็ตาม เป็นเทวา พรหม อรูปพรหมก็ดี พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นยอดแห่งสัตว์ทั้งปวงเหล่านั้น
อานิสงส์การอุปัฏฐาก
ผู้ใดมีศรัทธาตั้งมั่น มีความรักตน มีศรัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมบำรุงพระตถาคตหรือพระสาวก การบำรุงนี้ ย่อมเยี่ยมกว่าการบำรุงทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความบริสุทธิ์แห่งสัตว์ทั้งปวง เพื่อทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน
ทำความดี คือหน้าที่หลักของมนุษย์
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในกาลใดแล ภิกษุละกายทุจริต เจริญกายสุจริต ละวจีทุจริต เจริญวจีสุจริต ละมโนทุจริต เจริญมโนสุจริต ละมิจฉาทิฏฐิ เจริญสัมมาทิฏฐิได้แล้ว ในกาลนั้น เธอย่อมไม่กลัวต่อความตาย อันจะมีในภายหน้า
มงคลที่ ๑๐ มีวาจาสุภาษิต - โคนันทวิสาล
จะเห็นได้ว่า การกล่าววาจาทุพภาษิต เช่น คำหยาบ คำด่านั้น ไม่ดีเลย เหมือนที่พราหมณ์พูดกับโคนันทิวิสาล ในการเดิมพันครั้งแรก ทำให้ต้องเสียทรัพย์แก่เศรษฐีและอับอายขายหน้า แต่ครั้นพราหมณ์กล่าวถ้อยคำที่ไพเราะเสนาะหู และเสริมสร้างกำลังใจให้แก่กัน ก็สามารถกู้ชื่อเสียงกลับคืนมาได้ และยังได้ทรัพย์สินอีกมากมาย เพราะคำพูดที่ไพเราะนั้นมีฤทธิ์ มีอานุภาพ
มหาอุกกุสชาดก ชาดกว่าด้วยการผูกมิตร
บุคคลพึงคบมิตรสหายและเจ้านายไว้ เพื่อได้รับความสุข เรากำจัดศัตรูได้ด้วยกำลังแห่งมิตร เป็นผู้พร้อมเพรียงด้วยบุตรทั้งหลาย บันเทิงอยู่เหมือนเกราะที่บุคคลสวมแล้ว ป้องกันลูกศรทั้งหลายได้ ฉะนั้น