อานิสงส์แห่งอัญชลีกรรม
ผู้ใดได้ถวายบังคมเราตถาคต กล่าวสรรเสริญชมเชยญาณของเรา ด้วยจิตอันเลื่อมใสไม่คลอนแคลน ผู้นั้นจะไม่ไปสู่ทุคติเลยนับจากภพชาตินี้ไป และผู้นั้นจักเสวยเทวรัชสมบัติ ๖๔ ครั้ง บุคคลนั้นจักได้เป็นพระเจ้าประเทศราชครอบครองแผ่นดิน ๘๐๐ ครั้ง จักได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ๕๐๐ ครั้ง จักได้เป็นพระเจ้าประเทศราชเสวยสมบัติอยู่ในแผ่นดินอีกนับครั้งไม่ถ้วน
วานรินทชาดก-ชาดกว่าด้วยธรรมของผู้ล่วงพ้นศัตรู
พุทธกาลสมัยในขณะที่พระธรรมคำสอนแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าขจรขจายไปทั่วแว่นแคว้นดินแดนชมพูทวีป ยังความร่มเย็นเป็นสุขด้วยรสแห่งธรรมที่องค์พระศาสดาตรัสรู้นั้น แผ่นดินมคธกลับผลัดเปลี่ยนอำนาจจากพระเจ้าพิมพิสารอันเป็นองค์ศาสนูปถัมภกมาเป็นโอรสนามพระเจ้าอชาตศัตรู
อานิสงส์ถวายสังฆาราม
การทำบุญวิหารทานเป็นสังฆาราม เป็นสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงสรรเสริญ เพราะเป็นการอำนวยความสะดวกแด่พระสงฆ์ผู้ประพฤติธรรม
นิพพาน บทสรุปของชีวิตในสังสารวัฏ ตอนที่ 4
คุณลักษณะพระนิพพาน มีกล่าวไว้จำนวนมากในพระไตรปิฎก แต่ในที่นี้จะนำมากล่าวเฉพาะคุณลักษณะที่น่าปรารถนา อันมีอยู่ในพระนิพพาน ซึ่งพอจะเทียบเคียงกับความรู้สึกของคนโดยทั่วไปให้เข้าใจได้
กล้าสู้อุปสรรค
ภาษิตจีนกล่าวว่า “หนทางหมื่นลี้ เริ่มต้นที่ก้าวแรก” ก้าวแรกจึงเป็นก้าวที่ยิ่งใหญ่ เพราะทำให้มีก้าวที่สอง ก้าวที่สามตามมา จนถึงก้าวสุดท้ายบนเส้นชัย
วาตมิคชาดก-ชาดกว่าด้วยอำนาจของรส
ครั้งเมื่อมคธรัฐปรากฎแสงธรรมะซึ่งพระสัมมาสัมพุทธได้ตรัสรู้เจ้าอริยสัจสี่ให้เป็นที่เลื่อมใสศรัทธาในความจริงแห่งสังสารวัฏจนครอบคลุมไปทั่วแคว้นใหญ่แห่งนี้นั้น กุลบุตรตระกูลต่างๆ ก็พากันสละเพศผู้ครองเรือนออกติดตามพระผู้ชนะมารไปยังกรุงสาวัตถีแคว้นโกศลอย่างมากมายเพื่อออกบวชเป็นภิกษุสงฆ์ของพระสมณะโคดม
กัณหชาดก ชาดกว่าด้วยผู้เอาการเอางาน
ในอาณาจักรอันยิ่งใหญ่ของมคธรัตนนั้น มีความยิ่งใหญ่และสำคัญยิ่งของพุทธศาสนาควบคู่อยู่ด้วยกันหลายประการ หนึ่งในนั้นคือ พระเวฬุวณาราม ซึ่งเป็นวัดแห่งแรกของพระพุทธศาสนาก็ได้สร้างขึ้น ณ ดินแดนแห่งนี้ โอวาทปาฏิโมกข์ที่พระพุทธองค์ทรงแสดงแก่อริยสาวก 1,250 รูป และการบัญญัติพระธรรมวินัยในหลายสิกขาบท
วันครูแห่งชาติ 2568 ประวัติความเป็นมาของวันครู กิจกรรมวันครู
วันครูแห่งชาติ 16 มกราคม กิจกรรมวันครู วันไหว้ครู พานไหว้ครู กลอนวันครู รวมบทความวันครู ในปี 2568 นี้มีกิจกรรมวันครูอะไรที่น่าสนใจบ้าง
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๖ ชนะสัจจกนิครนถ์)
ความสุขหรือความทุกข์ที่ทุกคนได้รับในปัจจุบันชาติ ล้วนเป็นผลมาจากกรรมที่ได้ทำไว้ในอดีตชาติ ผู้ที่สามารถอธิบายเรื่องนี้ได้ดี มีเพียงพระสัมมาสัมพระพุทธเจ้า พระอรหันต์ และผู้มีรู้มีญาณเท่านั้น
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า(ตอนที่ ๔ ชนะสัจจกนิครนถ์)
ความเห็นถูกจะเป็นต้นทางของความคิดถูก ซึ่งจะทำให้ความคิดก็เริ่มมีระบบระเบียบแบบแผนที่ดี มีความคิดในทางสร้างสรรค์ คิดที่จะพ้นทุกข์และให้พบสุขที่แท้จริง
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๓ ชนะสัจจกนิครนถ์)
พื้นฐานชีวิตของมนุษย์ทุกคน ล้วนมีความทุกข์กันทั้งนั้น ตั้งแต่เกิดจนกระทั่งถึงบัดนี้ เราต้องพบกับความทุกข์ และส่วนใหญ่ยังไม่เคยพบความสุขที่แท้จริง
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๒ ชนะสัจจก-นิครนถ์)
คำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานแล้ว เป็นสิ่งที่มีค่าเอนกอนันต์ ทุกถ้อยคำที่พระพุทธองค์ทรงแนะนำสั่งสอน ชี้แนะหนทางสว่าง
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๑ ชนะสัจจกนิครนถ์)
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเป็นบุคคลผู้เลิศทั้งพระปัญญาธิคุณ พระบริสุทธิคุณ และพระมหากรุณาธิคุณ จะหาบุคคลใดๆ ในภพทั้งสาม มาเสมอเหมือนหรือ
ศาสดาเอกของโลก (๔)
แต่...ไม่มีใครรู้ว่าสันติสุขที่แท้จริงนั้นอยู่ที่ไหน จะเข้าถึงได้อย่างไร จนกระทั่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงค้นพบว่า การที่จะทำให้เกิดสันติสุขที่แท้จริง
คุณลักษณะของพระโพธิสัตว์
พลังใจของมนุษย์เริ่มต้นจากแรงบันดาลใจที่ยิ่งใหญ่ และความใฝ่ฝันอันสูงส่ง จึงทำให้อยากลงมือทำ เพื่อให้ภาพที่มีอยู่ในใจนั้นเป็นจริงขึ้นมา แม้สิ่งนั้นจะยากลำบากเพียงใด แต่ด้วยความเพียรพยายามครั้งแล้วครั้งเล่า
มหาสมัยสูตรครั้งที่ 2 (ตอนรายนามเหล่าเทวา)
สติของชนเหล่าใด แล่นไปแล้วในพระพุทธเจ้าเป็นนิตย์ ทั้งกลางวัน และกลางคืน ชนเหล่านั้น เป็นสาวกของพระโคดม ตื่นอยู่ด้วยดีในกาลทุกเมื่อ
การแก้คำกล่าวหาแบบพุทธวิธี
ภิกษุใด ชนะหนามคือกาม ชนะการด่า การฆ่า และ การจองจำได้ ภิกษุนั้น เป็นผู้มั่นคงไม่หวั่นไหวดุจภูเขา ย่อมไม่หวั่นไหวในสุข และทุกข์
ชัยชนะครั้งที่ 6 (ตอนที่ 6 ชนะสัจจกนิครนถ์)
อาสวะเหล่าใดที่ทำให้เศร้าหมอง ให้เกิดภพใหม่ มีวิบากเป็นทุกข์ ให้มีชาติ ชรา มรณะต่อไป บุคคลใดยังละไม่ได้ นั่นแหละเป็นคนหลง แต่ถ้าละกิเลสเหล่านั้นได้แล้ว นับว่าเป็นผู้ตื่นอยู่ทุกเมื่อ
ชัยชนะครั้งที่ 6 (ตอนที่ 4 ชนะสัจจกนิครนถ์)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความปรากฏขึ้นแห่งบุคคลเอก เป็นความปรากฏแห่งจักษุใหญ่ แห่งแสงสว่างใหญ่ แห่งโอภาสใหญ่ แห่งอนุตตริยะ เป็นการกระทำให้แจ้งซึ่งปฏิสัมภิทา ๔ เป็นการแทงตลอดธาตุธรรม
ชัยชนะครั้งที่ 6 (ตอนที่ 3 ชนะสัจจกนิครนถ์)
พระพุทธเจ้าผู้เป็นพระธรรมราชา ผู้ส่องแสงสว่างไสว ยังไม่เสด็จอุบัติขึ้น เพียงใด ชนทั้งหลายก็พากันบูชาสมณพราหมณ์เหล่าอื่นอยู่เป็นอันมาก เพียงนั้น แต่เมื่อใด พระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้มีพระสุรเสียงอันไพเราะ ได้ทรงแสดงธรรมแล้ว เมื่อนั้น ลาภและสักการะของพวกเดียรถีย์ก็เสื่อมไป