เทวธรรมชาดก-ชาดกว่าด้วยธรรมของเทวดา
“ดูก่อนภิกษุในศาสนาของเรานี้ ล้วนสรรเสริญคุณของความเป็นผู้มักน้อย สันโดษ รักสงบ เพียรผลาญกิเลสให้สิ้นไปมิใช่หรือ? แล้วทำไมท่านกลับถึงทำสิ่งไม่ควรเช่นนี้เล่า” พระภิกษุเจ้าสำรวย ได้ฟังคำพระพุทธเจ้าแล้ว แทนที่จะสำนึกผิดกลับบันดาลโทสะ ประชดประชัน ทำสิ่งมิควรอีก
ความงามอันจอมปลอม
ความงดงามของร่างกายเป็นสิ่งที่มนุษย์ทุกคนปรารถนา เพราะนอกจากตนเองจะเกิดความพึงพอใจแล้ว ยังเป็นที่ถูกอกถูกใจของผู้ได้พบเห็นอีกด้วย
ผู้ชนะที่แท้จริง
จงอย่าเสียใจ ในยามเสียทีแก่คนพาล และอย่าดีใจหากชนะใครด้วยความชั่ว เพราะนั่นมิใช่ความชนะ หรือความแพ้ที่แท้จริง
เปรตที่รับส่วนบุญได้และไม่ได้
เปรตบางชนิดที่สามารถรับส่วนกุศลได้ ในบรรดาเปรตทั้งหลายที่ได้กล่าวมาแล้วทั้งสิ้น มี 12 จำพวกบ้าง 4 จำพวกบ้าง 21 จำพวกบ้าง ในจำนวนเปรตทั้งหมดนี้ เปรตที่มีโอกาสจะได้รับส่วนบุญจากญาติอุทิศให้ คือ เปรตจำพวกปรทัตตูปชีวิกเปรต และเป็นเปรตจำพวกเดียวที่รับส่วนบุญได้เท่านั้น ส่วนเปรตอื่นๆ นอกจากนี้ ไม่สามารถจะรับส่วนบุญที่ญาติอุทิศไปให้ได้ เพราะเหตุว่าเปรตเหล่านี้อยู่ห่างไกลจากหมู่มนุษย์ แต่สำหรับปรทัตตูปชีวิกเปรตนั้น เป็นเปรตที่เกิดอยู่ในบริเวณบ้าน เช่น บุคคลบางคนถูกฆ่าตายโดยปัจจุบัน หรือผู้ที่ตายตามธรรมดาก็ตาม แต่มีความห่วงใยอาลัย ก็เกิดเป็นเปรตอยู่ในบริเวณบ้านนั้นเอง
กากาติชาดก-ชาดกว่าด้วยนางกากี
ในพุทธกาลสมัย ครั้งที่พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสรู้อนุตรสัมมาสัมโพธิญาณแล้วนั้น พระพุทธองค์มีพระประสงค์จะปักฐานพระพุทธศาสนาให้มั่นคง จึงได้เสด็จจาริกออกเผยแผ่พระธรรม โปรดแก่เหล่าสรรพสัตว์ทั้งหลายยังดินแดนน้อยใหญ่ชมพูทวีป
เนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๑)
ในโลกแห่งความเป็นจริง มนุษย์ต่างแสวงหาความพอดี แต่เนื่องจากมีอวิชชามาบดบังดวงปัญญาไว้
การดำรงอยู่ได้นานแห่งพระสัทธรรม (๒)
ในโลกที่เราอาศัยอยู่นี้ ไม่ว่าจะเป็นคน สัตว์ สิ่งของ เหตุการณ์ หรือเรื่องราวต่างๆ ล้วนมีทั้งแง่ดีและแง่ไม่ดีสลับกันไป การมองโลกในแง่ดี และเรียน
พุทธญาตัตถจริยา
วันเวลาหมุนผ่านเราไปทั้งขณะหลับและตื่น พร้อมกับนำความเสื่อมมาให้เราตลอดเวลา เหมือนกับสนิมที่ค่อยๆ กัดกินเหล็กทีละเล็กทีละน้อย ค่อยๆ ทำให้เหล็ก
วัดสุทัศนเทพวราราม จัดฟังเทศน์มหาชาติ
วัดสุทัศนเทพวราราม จัดเทศน์มหาชาติ ณ พระวิหารหลวง วัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพมหานคร ในเทศกาลสารทไทย (บุญเดือนสิบ)
ชีวิตพระปัจเจกพุทธเจ้า (2)
นักปราชญ์เหล่าใดมีศีลบริสุทธิ์ มีปัญญาหมดจดดี มีจิตตั้งมั่น ประกอบความเพียร เจริญวิปัสสนา มีปกติเห็นธรรมพิเศษ รู้แจ้งธรรมอันประกอบด้วยมรรค และโพชฌงค์ เจริญสุญญตวิโมกข์ อนิมิตตวิโมกข์ และอัปปณิหิตวิโมกข์ ไม่บรรลุความเป็นพระสาวกในศาสนาของพระชินเจ้า นักปราชญ์เหล่านั้น ย่อมเป็นพระสยัมภูปัจเจกชินเจ้า มีธรรมใหญ่ มีธรรมกายมาก มีจิตเป็นอิสระ ข้ามห้วงทุกข์ทั้งปวงได้ มีใจเบิกบาน มีปกติเห็นประโยชน์อย่างยิ่ง อุปมาดังราชสีห์ อุปมาดังนอแรดฉะนั้น