มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - ทางแห่งความเสื่อม
การดำรงตนให้หนักแน่น มั่นคงอยู่บนความเป็นมงคลนั้น ย่อมนำสิ่งที่ดีมาให้กับชีวิตของเรา มงคล แปลว่า เหตุแห่งความเจริญ หากรู้เช่นนี้แล้ว เราจะเป็นผู้ที่ห่างไกลจากเหตุแห่งความเสื่อม ทางแห่งความเสื่อมนี้ เคยมีคนสงสัยเหมือนกันว่า ผู้ที่เสื่อมกับผู้ที่เจริญนั้น พวกเขาดำรงตนอยู่บนเส้นทางเช่นไร
มงคลที่ ๑๙ งดเ้ว้นจากบาป - กลิ่นแห่งความหลุดพ้น
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงตรัสตอบติสสฤๅษีว่า ชนเหล่าใดฆ่าสัตว์ ไม่สำรวมในกามทั้งหลาย มีความเห็นว่า ทานที่บุคคล ให้แล้วไม่มีผล เป็นผู้ประทุษร้ายมิตร มีปกติไม่ให้ นี้ชื่อว่ากลิ่นดิบของชนเหล่านั้น เนื้อ และโภชนะไม่ชื่อว่าเป็นกลิ่นดิบ และสัตว์เหล่าใดขวนขวายในอกุศลกรรม ตายแล้วย่อมเข้าถึงที่มืด มีศีรษะลงตกไปสู่นรก
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 88
เมื่อพระเจ้าวิเทหราชทรงสดับคำ พยากรณ์นั้นแล้ว ก็ทรงเข้าพระทัยเนื้อความของปัญหาอย่างแจ่มแจ้ง ปริศนานั้นจึงกระจ่างแจ้งแก่พระหฤทัยของท้าวเธอ ดุจเผยสุริยมณฑลให้มาปรากฏท่ามกลางนภากาศ แม้เทวดาผู้เป็นเจ้าของปัญหานั้นเล่า ก็ปลื้มปีติเกินประมาณ รีบเผยกำพูฉัตรออกมาสำแดงกายกึ่งหนึ่งให้ปรากฏ พลางเปล่งสาธุการด้วยเสียงทิพย์อันกังวาน
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - ไม่ควรประมาทในชีวิต
พระเจ้าปเสนทิโกศลได้เสด็จไปเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า พลางทูลถามพระผู้มีพระภาคเจ้าถึงเรื่องราวต่างๆ ของมนุษย์ว่า ทำไมอายุของมนุษย์ในแต่ละยุคแต่ละสมัย มีความสั้นยาว ไม่เท่ากัน บาง ยุคมนุษย์มีอายุตั้ง ๘๐,๐๐๐ ปี และทำไมบางยุค อายุของมนุษย์สั้นเหลือเพียง ๑๐ ปี พระพุทธเจ้าทั้งหลายในอดีต จะนิยมลงมาอุบัติในโลกมนุษย์ ในยุคที่มนุษย์มีอายุยืนยาวสักเท่าใด
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - ประมาทแล้วต้องตั้งต้นใหม่ (๒)
เมื่อวันเวลาล่วงเลยไปหลายปี จากพราหมณ์หนุ่มก็กลายมาเป็นพราหมณ์แก่ชรา และได้รับทุกขเวทนาแสนสาหัส แต่ยังมีสติอยากจะฟังธรรมิกถาจากพระสารีบุตร จึงสั่งคนรับใช้ให้ไปบอกพระเถระว่า บัดนี้ตนเองป่วยหนัก ได้รับทุกขเวทนาแสนสาหัส ถ้าพระคุณเจ้า สะดวกขอให้มาโปรดด้วยเถิด
ใจหยุด สุดยอดปาฏิหาริย์
ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ คืออิทธิปาฏิหาริย์ อาเทสนาปาฏิหาริย์ อนุสาสนีปาฏิหาริย์ ภิกษุนั้นแล เป็นผู้สำเร็จถึงที่สุด เป็นผู้ประเสริฐกว่าเทวดา และมนุษย์ทั้งปวง
ไปโปรดพรหม - พุทธประวัติ
พุทธประวัติ พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน
สละชีวิตเป็นทาน (ปรมัตถบารมี)
มนุษย์ทุกคนล้วนปรารถนาความสุข ความอบอุ่นใจ และความปลอดภัยในชีวิต ทุกคนพยายามเสาะแสวงหาที่พึ่งที่ระลึกที่แท้จริง แต่หลายชีวิตไม่อาจรู้ว่า
บุญไม่มีขายอยากได้ต้องทำเอง
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตรัสพระคาถาว่า “ปุญฺญญฺ เจ ปุริโส กยิรา กยิราเถนํ ปุนปฺปุนํ ตมฺหิ ฉนฺทํ กยิราถ สุโข ปุญฺญสฺส อุจฺจโย” แปลความว่า ถ้าบุรุษพึงทำบุญไซร้, พึงทำบุญนั้นบ่อยๆ พึงทำความพอใจในบุญนั้น, เพราะว่าความสั่งสมบุญทำให้เกิดสุข.
รอยพระบาทริมฝั่งนัมมทานที
บุญอันล้ำเลิศย่อมเจริญแก่ชนทั้งหลาย ผู้เลื่อมใสแล้วในบุคคลผู้เลิศ อายุ วรรณะ ยศ เกียรติ ความสุข และกำลังอันเลิศก็เจริญ ผู้มีปัญญาให้ของอันเลิศ ตั้งมั่นแล้วในธรรมอันเลิศ เป็นภูตหรือเทวดาก็ตาม เป็นมนุษย์ก็ตาม ย่อมเข้าถึงความเป็นเลิศ บันเทิงใจอยู่ นี้เป็นขุมทรัพย์ที่อำนวยสมบัติทุกอย่าง ทั้งแก่เทวดา และมนุษย์ทั้งหลาย