ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 178
ขณะนั้น พระเจ้าจุลนีเสด็จขึ้นสู่พระคชาธาร พระองค์ทรงสวมฉลองพระองค์ด้วยเกราะแก้วประดับเพชรมณี พระหัตถ์ทรงศร ประทับสง่าเหนือคอพระคชาธารซึ่งทรงพละกำลังมหาศาล พลางมีพระบัญชาสั่งขบวนพลทุกกองทัพ ทั้งพลช้าง พลม้า พลรถ พลราบ และกองขมังธนู ประชุมพร้อมกันเพื่อเตรียมเผด็จศึกทันที
กรณีศึกษากฎแห่งกรรม วิบากกรรมฆ่าตัวตาย
การฆ่าตัวตายแก้ปัญหาได้ จริงหรือ...ตายแล้วก็หมดเรื่อง จริงหรือไม่...ที่นี่ มีคำตอบ
มหาโควินทสูตร (ตอนที่ 3 สนังกุมารพรหม)
ชาวโลกนี้ เป็นผู้มืดบอด มีน้อยคนที่เห็นแจ้งในโลกนี้ น้อยคนเหลือเกินที่จะไปสู่สุคติโลกสวรรค์ เหมือนนกน้อยตัวที่รอดพ้นจากตาข่ายมีน้อยเหลือเกินฉะนั้น
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า บรมครูของมนุษย์และเทวดา
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า บรมครูของมนุษย์และเทวดา พระสัมมาสัมพุทธเจ้า คือ ท่านผู้รู้ดีรู้ชอบด้วยพระองค์ก่อน แล้วสอนให้ผู้อื่นรู้ตามด้วย ได้แก่สอนให้ประชุมชนเว้นชั่ว ประพฤติชอบประกอบตนไว้ในทางที่สมควร
โครงการอบรมศีลธรรมแก่นักศึกษาวิทยาลัยเทคนิคลำปาง
คณะครูพร้อมด้วยนักศึกษาใหม่จากวิทยาลัยเทคนิคลำปาง ได้เข้าร่วมอบรมศีลธรรม
ที่ดินตาบอดกับเศรษฐีหนุ่มเนื้อหอม
อุทาหรณ์ของผู้ที่ทำบุญแล้วไม่ได้อธิษฐานล้อมกรอบเอาไว้ให้ดี...ชายคนหนึ่ง ในอดีตเคยทำทานทั้งสาธารณะกุศล และในพระพุทธศาสนา แล้วอธิษฐานจิตเพียงว่า ขอให้หล่อ ให้รวย เท่านั้น จนตลอดชีวิต ทานบารมีหลายๆชาติดังกล่าวมารวมส่งผลในชาตินี้ จึงทำให้เขาเกิดมามีรูปหล่อ รวยทรัพย์ แต่ต้องเกิดในตระกูลที่เป็นเศรษฐีด้วยของมึนเมา และต้องดำเนินธุรกิจของตระกูล เพราะอธิษฐานไม่รอบคอบ...
ภาพชีวิตที่ต้องก้าวต่อไปบนพื้นน้ำ ของชาวกรุง
ภาพการดำเนินชีวิตท่ามกลางวิกฤติ "น้ำ" ของชาวกรุง กลายเป็นภาพที่ชินตาไปแล้วในช่วงนี้ ใครเลยจะรู้ว่า ภาพที่เคยเห็นแค่ในหนัง จะกลับกลายเป็นเรื่องราวที่เกิดขึ้นจริง
ประกาศรับสมัครเจ้าหน้าที่
แผนกการ์ตูน DMC ประกาศรับสมัครผู้สนใจ ร่วมเป็นหนึ่งในทีมงานผลิตรายการการ์ตูนคุณธรรม จำนวน 2 ตำแหน่ง
ชัยชนะครั้งที่ ๘ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า(ตอนที่ ๑ ชนะพกาพรหม)
นักสร้างบารมีต้องมีใจจรดจ่ออยู่กับการสร้างบารมี ไม่ใช่ส่งใจไปในเรื่องอื่นที่ไม่เป็นสาระ อันเป็นเหตุให้อาสวกิเลสเข้ามาอยู่ในใจ ต้องคิดตลอดเวลาว่า ทำอย่างไรบารมีของเราจึงจะเต็มเปี่ยมบริบูรณ์
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 37 ต้นมหาโพธิพฤกษ์
ต้นมหาโพธิพฤกษ์ หรือต้นไม้ตรัสรู้ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแต่ละพระองค์นั้น จะมีความแตกต่างกันไปตามแต่ละยุคสมัย