พุทธสุภาษิตสะกิดใจ "หลักเกณฑ์เลือกเฟ้นคน"
พุทธสุภาษิต วันนี้ "มตฺตญฺญุตา สทา สาธุ การรู้จักประมาณ ยังประโยชน์ให้สำเร็จทุกเมื่อ" พุทธศาสนสุภาษิต ที่บัณฑิตควรศึกษาไว้...
บทความให้กำลังใจ ตอนที่ 58
บทความให้กำลังใจ ไม่ว่าจะเป็นข้อความเพลงให้กำลังใจ กลอนเพลงให้กำลังใจ เพลงให้กำลังใจ หรือจะเป็นคำคมกำลังใจ เพื่อให้ทุกคนได้มีกำลังใจที่สูงขึ้นในยามที่อาจท้อแท้ไปบ้าง
วิธีทำให้พ่อแม่สามียอมรับ
คำถาม : ทำตัวแบบใด พ่อแม่สามีจึงจะยอมรับเราคะ?
กิจกรรมระหว่างอบรมในโครงการอุปสมบทหมู่
บวชแล้วได้อะไร : กิจกรรมระหว่างอบรมในโครงการอุปสมบทหมู่ ฝึกภาคสนาม ความเป็นระเบียบ ฝึกความพร้อมเพรียง เรียนรู้เรื่องวินัย เคารพ อดทน
บวชแล้ว "ผู้บวช" ได้อะไร
บวชแล้ว "ผู้บวช" ได้อะไร ๑. ได้บวชทดแทนพระคุณของพ่อแม่ ๒. ได้ศึกษาธรรมะเพื่อเอาไว้พัฒนาตนเอง ๓. ได้ฝึกฝนคุณธรรมในตนเอง มีระเบียบวินัย เคารพ อดทน
ทิศทางโครงการฟื้นฟูศีลธรรมโลก ปี 2553
ผู้แทนจากสำนักงานเขตการศึกษาทั่วประเทศเข้าร่วมการสัมมนากว่า 100 ท่าน ร่วมกำหนดทิศทาง
รอยต่อภพ
เขาเกิดในครอบครัวชาวจีน เนื่องจากกิจการของครอบครัวไม่ราบรื่น ฐานะจึงค่อนข้างยากจน ถึงขนาดน้องสาวคนเล็ก ต้องถูกยกไปให้ผู้อื่นเลี้ยง...แต่เขาไม่เคยย่อท้อ อดทน ต่อสู้ชีวิต ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และขยันขันแข็ง จนเป็นกำลังหลักให้แก่ครอบครัว...ต่อมา เขามีกิจการเป็นของตัวเอง แต่หลังจากได้พบเรื่องแปลก เกี่ยวกับผีๆ ก็ทำให้กิจการย่ำแย่จนล้มละลาย...เขาเจอผีจริงหรือไม่...ที่นี่...มีคำตอบ
ฉันเป็นภรรยาหรือว่าทาสี
หลังจากแต่งงาน ชีวิตการครองเรือนไม่ได้มีความสุขอย่างที่เธอคาดหวังไว้ สามี เตะ ต่อย ทุบตี เธอเป็นประจำ ใช้คำหยาบคายด่าทอเธออยู่เสมอ ทำร้ายจิตใจเธอ ด้วยการไปมีความสัมพันธ์กับเพื่อนสนิทของเธอ …แม่สามี ก็ยังกลั้นแกล้งตบตี และบังคับให้เธอทำงานหนัก …เธอทนกับสภาพเช่นนี้อยู่นาน จนได้โอกาสหนีไปต่างประเทศ ด้วยความขยัน อดทน และบุญเก่าส่งผล ทำให้เธอ ประสบความสำเร็จในอาชีพ และตั้งตัวได้…
ข่าวจากหนังสือพิมพ์ โครงการธุดงค์ธรรมชัยอัญเชิญหลวงปู่ทองคำ
โครงการธุดงค์ธรรมชัยจากหนังสือพิมพ์ ต่างๆ
ธุดงค์ธรรมชัยกับการปฏิบัติธุดงควัตร
ธุดงควัตร เป็นพุทธประเพณีที่ถือปฏิบัติมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล เนื่องจาก ธุดงค์ คือ บทฝึกตนในการ กำจัดกิเลสทางพระพุทธศาสนาแบบเฉียบพลัน ที่เรียกว่า ธุตังคะ มีทั้งหมด 13 ข้อ โดยผู้ปฏิบัติจะได้ฝึกความ อดทน และใช้ความเพียรสูง กว่าปกติ ซึ่ง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ได้บัญญัติให้การถือธุดงค์เป็นข้อบังคับ คือ ใครจะถือก็ได้ หรือไม่ถือก็ได้ แต่พระองค์ทรงอนุญาตให้ทำได้ เพราะเป็นข้อปฏิบัติที่เกื้อกูลและสนับสนุนให้ บรรลุธรรมง่ายขึ้น