ปัญหาในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
ปัญหาในเมืองไทยหรือปัญหาในโลกนี้ ที่เป็นประเด็นใหญ่คือ คนส่วนมากแยกไม่ออกว่า อะไรจำเป็นสำหรับชีวิต หรืออะไรเป็นของฟุ่มเฟือย
สมบัติที่มีค่าที่สุด
หลายคนในโลกมักไม่พอใจในสิ่งที่ตนมี ตนได้ แล้วก็ขวยขวายให้ได้มาในสิ่งที่ปรารถนา แม้ต้องแลกด้วยการทำทุจริตก็ยอม
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 83
เทวดาเห็นดังนั้น ก็ยังไม่ยอมหยุดเพียงเท่านั้น กลับข่มขู่ทิ้งท้ายด้วยเสียงกร้าวว่า “เอาเถอะ คืนนี้ เราจะเว้นโทษให้ท่านอีกสักครั้ง แต่ในคืนพรุ่งนี้ หากท่านยังไม่สามารถตามตัวมโหสถมาตอบปัญหานี้ได้ นั่นก็หมายความว่าชีวิตของท่านอาจจะต้องถึงกาลอวสานอย่างไม่ต้องสงสัย”
หนวดเต่า เขากระต่าย
การบรรพชากระทำได้ยากแท้ การอยู่ครองเรือนเป็นเรื่องยาก ธรรมะเป็นของลึก การหาทรัพย์เป็นของยาก การเลี้ยงชีพของเราด้วยปัจจัย ๔ ตามมีตามได้ เป็นการยาก ผู้มีปัญญาควรคิดถึงอนิจจตาอยู่เนืองๆ
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 82
ครั้นรัตติกาลใกล้รุ่ง ขณะที่พระเจ้าวิเทหราชกำลังทรงพระบรรทมภายในห้องพระบรรทม เทวดาตนนั้นจึงแสดงกายให้ปรากฏ แหวกกำพูฉัตรออกมาต่อเบื้องพระพักตร์ของพระเจ้าวิเทหราช ออกมายืนอยู่ในอากาศให้พระเจ้าวิเทหราชได้ทอดพระเนตร พร้อมกับแผ่รัศมีกายให้สว่างไสวสาดกระทบไปทั้งห้องบรรทมของท้าวเธอ
ทาน-ทางมาแห่งทรัพย์สมบัติ ความหมายของทาน
ทาน หมายถึง การให้ด้วยความบริสุทธิ์ใจ ไม่หวังผลตอบแทน เมื่อเราให้ทาน แม้จะไม่ได้หวังสิ่งใดตอบแทนก็ตาม แต่ก็จะมีบุญเกิดขึ้น และบุญนั้นจะช่วยออกแบบชีวิตของเราให้สมบูรณ์พร้อมด้วยทรัพย์สมบัติ
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - รักจริงไม่ยอมทิ้งกัน
ภรรยาพระโพธิสัตว์กล่าวปลอบโยนว่า "ข้า แต่นายผู้เจริญ ท่านอย่ากลัวเลย ดิฉันจะอ้อนวอนนายพรานให้ชีวิตแก่ท่าน ถ้าดิฉันอ้อนวอนไม่ได้ ก็จักให้ชีวิตของดิฉันแทน แล้วให้ปล่อยท่านไป" พลางยืนชิดกับพระโพธิสัตว์ผู้มีข้อเท้าที่บาดเจ็บสาหัสอาบไปด้วยโลหิต
ทศชาติชาดก เรื่องสุวรรณสาม ผู้ยิ่งด้วยเมตตาบารมี ตอนที่ 7
ท้าวสักกะจึงทรงให้คำแนะนำว่า “ข้า แต่ท่านผู้เจริญ ท่านไม่ต้องทำอย่างนั้นก็ได้ เพียงแต่เอามือลูบที่ท้องของปาริกาฤษิณีในเวลาที่นางมีระดู เพียงเท่านี้นางก็จะตั้งครรภ์” ทุกูลฤษีได้ฟังดำรัสอย่างนั้นแล้วก็เบาใจ จึงรับคำว่า “ถ้าให้ทำเพียงเท่านี้ ก็อาจจะกระทำได้”
ทำถูกหลักวิชชา นำพาสู่สวรรค์
“ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัปปุริสทานมี ๘ ประการ คือ ให้ของสะอาด ให้ของประณีต ให้ตามกาล ให้ของสมควร เลือกให้ ให้เนืองนิตย์ ให้ด้วยจิตที่ผ่องใส และให้แล้วก็ดีใจ”
ความสุขของคนดี
มิอาจปฎิเสธได้ว่า สิ่งที่มนุษย์ทุกคนต้องการคือ “ความสุข” แต่การตีค่าความสุขนั้นอาจมีบรรทัดฐานที่แตกต่างกัน