ขนม ผลไม้ และ ดนตรีไทยของชาวไทย
ขนมไทย ขนมไทยดั้งเดิมมีส่วยผสมคือ แป้ง น้ำตาล กะทิ เท่านั้น ส่วนขนมที่ใช้ไข่เป็นส่วนประกอบ เช่น ทองหยิบ ทองหยอด เม็ดขนุนนั้น มารี กีมาร์ เดอ ปีนา (ท้าวทองกีบม้า) หญิงสาวชาวโปรตุเกสเป็นต้นตำรับ คนไทยมีความเชื่อเรื่องขนมไทย คือมักจะนำขนมมงคล 9 อย่างไปประกอบเครื่องคาวหวานในพิธีมงคล เพราะมีชื่อและความหมายที่เป็นสิริมงคล ได้แก่ ทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง ขนมชั้น ทองเอก เม็ดขนุน จ่ามงกุฎ เสน่ห์จันทร์ และขนมถ้วยฟู
ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 3
“เมื่อก่อนข้าพระองค์ไม่เคยคิดเป็นศัตรูต่อเจ้าพี่เลย ทั้งไม่เคยแปรพักตร์คิดแย่งชิงราชสมบัติ แต่พระเจ้าพี่เชื่อฟังคำยุยงของอำมาตย์ผู้ใกล้ชิด จะสำเร็จโทษข้าพระองค์ บัดนี้ หม่อมฉันจะขอราชสมบัติหละ เจ้าพี่จะมอบราชสมบัติให้แก่หม่อมฉันหรือจะรบจงรีบตอบมา”
วันสำคัญทางวัฒนธรรมและวันหยุดราชการ ๒๕๕๐
เผลอแป๊บเดียวก็จะออกพรรษากันอีกแล้ว อีกไม่นานเราก็จะได้ฉลองปีใหม่กันอีกครั้ง แต่เรามาดูกันซิว่า ปีหน้าฟ้าใหม่ ปีแห่งการสร้างบารมีที่เข้มข้นขึ้นไปนี้จะมีวันสำคัญๆ และวันหยุดราชการอะไรกันบ้างหนอ แต่ไม่ว่าจะมีวันหยุดมาก หรือจะมีวันหยุดน้อย นักสร้างบารมี ก็จะตะลุยกันสร้างบารมีไปทุกวัน ไม่มีเว้นวรรค ไม่มีเว้นวรรคกันอยู่แล้วใช่ไหมเอ่ย
ช่วยเหลือผู้ประสบภัยในพม่า ครั้งที่5
พิธีมอบเครื่องอุปโภคบริโภคมีขึ้นเมื่อเวลา 9.30น.ของวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ.2551 ณ ห้องรับรองของมหาวิทยาลัยสงฆ์แห่งชาติ เมืองย่างกุ้ง โดยมีตัวแทนองค์กรชาวพุทธจากนานานาชาติเป็นผู้มอบ ส่วนตัวแทนฝ่ายผู้รับมอบ ได้แก่ หลวงพ่อภัททันตะ กุมาระ อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงฆ์แห่งชาติ เมืองย่างกุ้ง และ ฯพณฯ ตุระอองโก รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการศาสนา พร้อมคณะ งานนี้มีล่ามแปลถึง 3ภาษา คือ ไทย จีน และพม่า
บุญสร้างวิหารทาน "อุโบสถพระไตรปิฎก" หลังแรกของโลก
สถาปนาอุโบสถพระไตรปิฎกหลังแรกของโลก
ช่วยเหลือผู้ประสบภัยในพม่า (2)
“กาลทาน” เป็นทานของผู้ฉลาด รู้จักคิดรู้จักทำได้ถูกกาลถูกเวลา ให้สิ่งของจำเป็นในยามที่ผู้รับมีความต้องการอย่างยิ่ง เพราะในเวลานี้น้ำทุกหยด ข้าวทุกเม็ด เป็นสิ่งที่มีค่าอย่างยิ่งต่อทุกชีวิตที่กำลังประสบภัยพิบัติ ผู้ใดที่ให้ได้ถูกกาลเช่นนี้ ย่อมได้อานิสงส์ยิ่งใหญ่ จะไม่มีวันได้พบได้รู้จักกับความอดอยากยากเข็ญตลอดไป
งานบรรพชาสามเณร 294 รูป ครั้งแรกของบังกลาเทศ
ขณะนี้กระแสการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในบังกลาเทศ กำลังชัดเจนมากขึ้นทุกขณะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลจากการร่วมมือกันของชาวพุทธจากไทยและบังกลาเทศนับตั้งแต่ได้ถวายองค์พระธรรมกาย 250 องค์แก่วัดต่างๆ ในปี พ.ศ. 2553
มิวสิควีดีโอ เพลง Candlelight (ฮินดี)
คำร้องภาษาไทย โดย ป้าใส (บ้านมธุร) คำร้องภาษาอังกฤษ โดย ภัทร อินลาภ ทำนอง โดย สุรสีห์ อิทธิกุล ขับร้อง โดย ยาชิกา กาการี
คณะผู้นำองค์กรศาสนาประเทศอินเดียเยี่ยมชมวัดพระธรรมกาย
คณะผู้นำองค์กรศาสนาและองค์กรพุทธในประเทศอินเดีย พร้อมด้วยคณะสื่อมวลชนจากช่อง Asian news international เดินทางมาเยี่ยมชมวัดพระธรรมกาย
ข่าวถึงลูกพระธัมฯทั่วโลก
สิ่งที่เป็นความต้องการอย่างมากในเวลานี้ นอกจากข้าวปลาอาหาร และเสื้อผ้าแล้ว ก็คือ สังกะสีมุงหลังคา เพราะว่าถูกพายุพัดพาหายไปเป็นจำนวนมาก เฉพาะที่มหาวิทยาลัยสงฆ์ ก็ยังขาดสังกะสีในการซ่อมแซมหลังคา อีกราว 10,000แผ่น