ทาน-ทางมาแห่งทรัพย์สมบัติ ความหมายของทาน
ทาน หมายถึง การให้ด้วยความบริสุทธิ์ใจ ไม่หวังผลตอบแทน เมื่อเราให้ทาน แม้จะไม่ได้หวังสิ่งใดตอบแทนก็ตาม แต่ก็จะมีบุญเกิดขึ้น และบุญนั้นจะช่วยออกแบบชีวิตของเราให้สมบูรณ์พร้อมด้วยทรัพย์สมบัติ
การพัฒนาบุคคลากรด้วยปัญญา 3 ฐาน
ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ ได้เสนอวิธีการพัฒนาบุคลากรด้วยหลักปัญญา 3 ฐาน คือ ฐานกาย ฐานใจ ฐานความคิด ซึ่งแท้จริงแล้วนำมาจากหลักในพระพุทธศาสนานั่นเอง คือ ศีล สมาธิ ปัญญา ในเชิงบริหารนั่นเอง
รูปขาวดำเปลี่ยนเป็นสี
อดีตทหารจากสงครามโลกครั้งที่สอง...เขาอาสาเข้าร่วมสงครามเพราะความแค้นที่ภรรยาต้องตายด้วยระเบิด แต่เมื่อได้เป็นทหารแล้ว เขากลับเกิดความรู้สึกหดหู่ใจในความโหดร้ายของสงครามและสงสารบรรดาผู้คนที่ต้องได้รับผลจากสงคราม...เกิดเหตุการณ์ประหลาด ภาพถ่ายของคุณแม่ของเขา เมื่อประมาณ 80 ปีมาแล้ว เป็นภาพขาว-ดำ กลับมีสีปรากฏขึ้นในบางส่วนของภาพ เช่น ดอกไม้ ผ้าม่าน เครื่องประดับ เป็นต้น...สงครามโลกครั้งที่สอง เกิดขึ้นเพราะกรรมใด ทำไมเหล่าทหารมากมายต้องมาเข่นฆ่ากัน...รูปขาว-ดำ ดังกล่าว เกิดมีสีขึ้นได้อย่างไร...ที่นี่...มีทุกคำตอบ...
ประมวลภาพพิธีตักบาตรพระภิกษุ-สามเณร อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน
ประมวลภาพพิธีตักบาตรพระภิกษุ-สามเณร อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน วันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2559
อ้วน เตี้ย ดำ คำง่ายๆ เติมเชื้ออันธพาลเด็ก
ชวนต่างชาติให้สนใจ ทาน ศีล ภาวนา
ตัวลูกเป็นชาวต่างชาติ เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา อยากให้ญาติมิตรหันมาสนใจเรื่อง การรักษาศีล เจริญภาวนา จะต้องทำอย่างไรคะ ?
ชีวิตนี้น้อยนัก แต่สำคัญนัก เพลงคีตธรรมส่งเสด็จพระสังฆราชา
เพลง "ชีวิตนี้น้อยนัก แต่สำคัญนัก" ฟังเพลงชีวิตนี้น้อยนัก แต่สำคัญนัก เพลงคีตธรรมส่งเสด็จพระสังฆราชา ในพระนิพนธ์ "ชีวิตนี้สำคัญนัก" แห่งเจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ขับร้องโดย ปาน ธนพร ดาวน์โหลด mp3 ได้แล้ว
ห้าม! สูบบุหรี่พท.เสี่ยง หลังท่อระบายน้ำระเบิดเช้านี้
สังคหวัตถุ-4-หลักการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
ท่านทั้งหลายทราบหรือไม่ว่า การที่เรามาอยู่ร่วมกันในสังคมนั้นต้องปฏิบัติตนอย่างไร จึงจะอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านทรงได้ให้หลักธรรมในการดำเนินชีวิตในสังคมอย่างเป็นสุขคือ สังคหวัตถุ 4 ซึ่งประกอบด้วยหลักธรรม 4 ข้อ ได้แก่ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา และ สมานัตตา โดยมีรายละเอียดแต่ละข้อดังนี้
กฐินทาน กาลทานที่มีผลานิสงส์มาก
คำสอนในพระพุทธศาสนากล่าวว่า “ทาน” หรือ “การให้” เป็นความดีที่เป็นสัมมาทิฐิเบื้องต้นของมนุษย์ทุกคน เพราะทั้งการให้ การแบ่งปัน หรือการสงเคราะห์ ล้วนเป็นคุณธรรมที่เกื้อกูลกันระหว่างชีวิตต่อชีวิต เป็นพื้นฐานความดีที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความเจริญก้าวหน้าต่อไป ดังเช่น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในครั้งยังสร้างบารมี กว่าพระองค์จะทรงประสบความสำเร็จขั้นสูงสุดในชีวิต คือการตรัสรู้ธรรม พระองค์ก็ทรงอาศัยการทำทานเป็นจุดเริ่มต้นของการสั่งสมความดี