ทุกข์อย่างยิ่ง สุขอย่างยิ่ง
ความหิวเป็นโรคอย่างยิ่ง, สังขารทั้งหลาย เป็นทุกข์อย่างยิ่ง, บัณฑิตทราบเนื้อความนั่น ตามความจริงแล้ว
"ปลื้ม" หัวใจของการสร้างบุญ
คำว่าปลื้มเป็นคำทั่วไปที่เราใช้กันคุ้นเคยแต่ศัพท์ในพระพุทธศาสนาที่มีความหมายใกล้เคียงกับคำว่าปลื้มก็คงเป็นคำว่า “ปีติ” (ไม่ใช่ปิติ) ปีติมี ๕ ประการ
อานุภาพความสุขอยู่ที่ใจ ยืดอายุขัยออกไปได้นาน ถึง 10 ปี
ทุกข์และสุข อันมากจากกาม
กามเป็นสิ่งที่ละได้ยากก็จริง แต่ก็ป้องกันพิษภัยของมันได้ เหมือนโรคบางอย่างรักษาได้ยากก็จริง แต่ก็ป้องกันมิให้มันเกิดขึ้นได้
อานิสงส์ถวายน้ำอ้อย
ควรทำวันและคืนไม่ให้เปล่าประโยชน์ จะน้อยหรือมากก็ตาม เพราะวันคืนผ่านบุคคลใดไปแล้ว ชีวิตของบุคคลนั้นย่อมพร่องจากประโยชน์นั้น
ทำไมจึงรวย ?
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสกับสุภมาณพ โตเทยยบุตรว่า ดูก่อนมาณพ สัตว์ทั้งหลายมีกรรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม มีกรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย กรรมย่อมจำแนกสัตว์ให้เลวและประณีตได้.
มีอะไรก็เฉย ไม่ลุ้น ไม่ตกใจ
ครั้งแรกๆเมื่อมีอาการแบบนี้ ลูกจะลืมตาทันที ถ้าเมื่อใดที่เกิดขึ้นแบบแรงมากๆ ลูกก็จะนึกถึงมหาปูชนียาจารย์ เพราะลูกรู้สึกว่ามันน่ากลัวมากๆค่ะ แต่ครั้งนี้ลูกได้ชนะสิ่งนี้แล้ว เพียงแค่ลูกหยุด นิ่ง เฉย อย่างเบา สบาย โดยไม่นึกถึงอะไรทั้งสิ้น มีอะไรก็เฉย ไม่ลุ้น ไม่ตกใจ...
จันทกุมาร บำเพ็ญขันติบารมี (๓)
ชีวิตหลังความตายยังเป็นความมืดมนสำหรับมนุษย์ทั้งหลาย เพราะยังไม่ได้รู้แจ้งในโลกทั้งปวง มนุษย์มากมายต่างก็ปรารถนาจะไปสวรรค์ เพราะรู้ว่าสวรรค์เป็นดินแดนแห่งการเสวยสุข
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๓ (สนังกุมารพรหม)
ชาวโลกนี้ เป็นผู้มืดบอด มีน้อยคนที่เห็นแจ้งในโลกนี้ น้อยคนที่จะไปสู่สุคติโลกสวรรค์ เหมือนนกน้อยตัวที่รอดพ้นจากตาข่ายมีน้อยฉันนั้น
อานิสงส์รักษาศีลจนตลอดชีวิต
แม้ว่าจะต้องทำงานรับจ้างเหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้าเพียงใดก็ตาม ท่านจะนึกถึงศีลตนที่ได้ประคองรักษาอย่างบริสุทธิ์ผุดผ่อง จนเวลาล่วงมาถึงหนึ่งแสนปี เมื่อวาระสุดท้ายแห่งชีวิตมาถึง ท่านก็ได้ระลึกถึงศีลของตนเอง ทำให้เกิดมหาปีติว่า “ศีลที่เราสมาทาน และได้รักษาอย่างบริสุทธิ์บริบูรณ์ แม้นอนอยู่บนเตียงคนป่วย เราก็มีใจชื่นบาน ไม่หวั่นไหวต่อมรณภัยเลย