พุทธสุภาษิตสะกิดใจ "กตัญญูกตเวที เป็นคนดีของชาติ"
นิมิตฺตํ สาธุรูปานํ, กตญฺญูกตเวทิตา, ความกตัญญูกตเวที เป็นเครื่องหมายของคนดี ทุกคนที่เกิดมาในโลกนี้ ต่างก็ต้องการจะเป็นคนดีด้วยกันทั้งนั้น เมื่อเป็นเช่นนั้น ก็จะต้องหมั่นรำลึกนึกถึงพระคุณของท่านอยู่เสมอ และสิ่งสำคัญยิ่งไปกว่านั้น ก็จะต้องสร้างความดีให้เกิดขึ้นกับตน ให้สังคมมองเห็นว่า เราเป็นคนดี
มงคลที่ ๒๕ มีความกตัญญู - สุวรรณสาม ยอดกตัญญู
พระราชาได้สดับถ้อยคำอันอ่อนโยน จึงดำริว่าบุรุษผู้นี้ แม้ถูกเรายิงด้วยลูกศรล้มลงแล้ว ไม่ด่าบริภาษเรา ยังเรียกหาเรา ด้วยถ้อยคำที่อ่อนโยนน่ารัก น่าพอใจจึงเสด็จเข้าไปใกล้ สุวรรณสาม ตรัสว่า เราเป็นพระราชา
มงคลที่ ๑๑ บำรุงบิดามารดา - แทนคุณอันสุดซึ้ง ต้องให้เข้าถึงธรรม
นักปราชญ์ได้กล่าวถึงพระคุณของพ่อแม่ว่า มีมากเกินกว่าที่จะพรรณนาให้หมดสิ้นได้ และเป็นการยากที่จะทดแทนพระคุณของท่านได้หมด เพราะนอกจากจะกตัญญูรู้คุณ และตอบแทนพระคุณแล้ว เรายังต้องประกาศคุณความดีของท่าน ด้วยการทำตนให้เป็นคนดี หมั่นประพฤติปฏิบัติธรรม ให้กาย วาจา ใจ สะอาดบริสุทธิ์ ดังเช่นการตอบแทนพระีุคุณโยมแม่ของพระสารีบุตร
มงคลที่ ๑๒ เลี้ยงดูบุตร - น้ำใสใจจริง จากมารดา
สามเณรได้ฟังความในใจและรับรู้ถึงความปรารถนาอัน บริสุทธิ์ของโยมมารดา ก็เกิดความสลดสังเวชใจที่ตนต้องตกอยู่ใต้อำนาจกิเลส จึงกลับได้สติมีหิริโอตตัปปะ รีบบอกโยมแม่ว่า "สามเณรไม่สึกแล้ว จะขอบวชตลอดชีวิต"
มงคลที่ ๒๕ มีความกตัญญู - เครื่องหมายของคนดี
เมื่อน้องชายได้ฟังดังนั้น ก็สำนึกผิดในความดื้อรั้นของตน ไม่สามารถจะอยู่ในที่นั้นได้ จึงหลีกเร้นไปอยู่คนเดียว ปรารภความเพียรอยู่ในป่าลึก จนสามารถทำอภิญญาและสมาบัติให้บังเกิดขึ้นได้ แล้วคิดว่า จะนำพระราชาทั่วทั้งชมพูทวีปมาขอขมาพี่ชาย เพื่อจะได้มีโอกาสมาปรนนิบัติดูแลบิดามารดาอีก
ร่วมลงนามถวายพระพรพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวันพ่อ
ลงนามถวายพระพรวันพ่อ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๖
ผู้ใดนับถือพระพุทธศาสนาผู้นั้นถือว่าเป็นวงศ์ญาติของพระพุทธเจ้าหรือไม่
ผู้ใดนับถือพระพุทธศาสนาของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์ใด ผู้นั้นก็คือ บิดา มารดา บุตร ธิดา และ วงศ์ญาติของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้นใช่หรือไม่
พิธีปลงผมธรรมทายาทรุ่นอุดมศึกษา
ธรรมทายาทรุ่นอุดมศึกษา ภาคฤดูร้อน รุ่นที่ 37 ได้เข้าพิธีปลงผม ณ อุโบสถวัดพระธรรมกาย
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฏฐิ ( ๑ )
สัมมาทิฏฐิเบื้องต้นทั้ง ๑๐ ประการนี้ เปรียบเสมือนลู่ที่ให้เราวิ่งไปตามทาง เหมือนแสงทองส่องนำชีวิตให้ก้าวไปสู่ความสุขความสำเร็จ จึงต้องตอกย้ำบ่อยๆ เพื่อเป็นการทบทวนด้วยว่า เรามีสัมมาทิฏฐิครบถ้วนบริบูรณ์แล้วหรือยัง
สัมมาทิฏฐิ 10 ประการ หลักธรรมว่าด้วยความเห็นชอบ 10 ประการ
สัมมาทิฏฐิ 10 ประการ สัมมาทิฏฐิ หมายถึง มีความเห็นชอบ เห็นถูกต้องตามทำนองคลองธรรม