ไม่คบคนพาล-ให้คบบัณฑิต-หลวงพ่อตอบปัญหา
คนพาลมีลักษณะอย่างไร คบแล้วมีผลเสียอย่างไร,ถ้าเราจำเป็นต้องอยู่ในสังคมทำงานกับคนพาลจะวางตัวอย่างไรดี,บัณฑิตแบบไหนที่เราควรจะคบหาด้วย ถ้าคบแล้วดีอย่างไร
เราควรมีหลักในการคบเพื่อนอย่างไรบ้าง
เราจะต้องไม่คบคนพาล ให้คบแต่บัณฑิต เพราะจะทำให้เราได้รับการถ่ายทอดความประพฤติและนิสัยที่ดีจากบัณฑิต ทำให้เรามีโอกาสเจริญก้าวหน้าได้ง่ายขึ้น ทั้งด้านการงานและชีวิตส่วนตัว
กำหนดการ พิธีประสาทปริญญามหาวิทยาลัยธรรมกาย แคลิฟอร์เนีย วันอาทิตย์ ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
กำหนดการ พิธีประสาทปริญญา วันอาทิตย์ ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 ณ สภาธรรมกายสากล วัดพระธรรมกาย จ. ปทุมธานี
มงคลที่ ๑ ไม่คบคนพาล - เลือกคบคนให้เป็น
พระเทวทัต มีความปรารถนาลามกจะตีเสมอพระสัมมาสัมพุทธเจ้า คิดอยากจะเป็นใหญ่ปกครองคณะสงฆ์ จึงแสดงอิทธิฤทธิ์และเกลี้ยกล่อมเจ้าชายอชาตศัตรูให้เลื่อมใสตนเอง จากนั้นเริ่มยุยงให้ปลงพระชนม์ พระบิดา ส่วนพระเทวทัตจะปลงพระชนม์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้วเป็นศาสดาแทน
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : ไม่ละทิ้งธรรม
บัณฑิตย่อมไม่ประพฤติกรรมชั่ว เพราะเหตุแห่งสุขตน สัตบุรุษอันทุกข์ถูกต้อง แม้พลาดพลั้งไป ก็ไม่ยอมละธรรม เพราะฉันทาคติและโทสาคติ
อานิสงส์รักษาอุโบสถศีลครึ่งวัน
กามแม้น้อย ก็ไม่พอแก่มหาชน มหาชนย่อมไม่อิ่มในกามแม้มาก น่าสลดใจที่พวกคนพาลพากันบ่นว่า รูป เสียงเหล่านี้ จงมีแก่เรา กุลบุตรผู้ประกอบด้วยความเพียร พึงเว้นให้ขาดเถิด
เรียน DOU คือ การเรียนวิชาชีวิต
การที่คนเราพากเพียร พยายามหมั่นศึกษาความรู้ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า หมายถึงการแหกคุก คือ ออกจากโลกที่เราข้องอยู่
เวฬุกะชาดก-ชาดกว่าด้วยโทษของการเป็นผู้ว่ายากสอนยาก
ครั้งอดีตกาล ณ พระเชตะวัน มหาวิหารอันสำคัญยิ่งในพระพุทธศาสนาได้เกิดเรื่องราวมิงามของภิกษุผู้ว่ายากอยู่ท่านหนึ่ง ไม่ว่าใครจะว่ากล่าวตักเตือนอย่างไรก็ตามท่านก็มิเคยฟัง สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงมีพระกรุณาธิคุณให้ภิกษุรูปหนึ่งเข้าเฝ้า เพื่อปลดโทษให้
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๙ ( แก้ปัญหาเทพ )
ครั้งนี้ถึงตอนที่มโหสถบัณฑิตมารับราชการตามเดิมแล้ว และจะต้องตอบคำถามที่พระราชาทรงสดับมาจากเทวดา พระราชาได้ตรัสถามมโหสถบัณฑิตว่า เทวดาผู้สิงสถิตอยู่ที่เศวตฉัตร ได้ถามปัญหา ๔ ข้อ กับเรา เราไม่รู้คำตอบของปัญหา ๔ ข้อนั้น อาจารย์ทั้ง ๔ คน ก็ไม่รู้ เพราะฉะนั้น ท่านจงช่วยกล่าวแก้ปัญหาทั้ง ๔ ข้อ
จดจำ จรดจาร
บัณฑิตทางพระพุทธศาสนา หมายถึง บุคคลผู้ทรงความรู้ มีจิตใจที่งดงาม และมีการดำเนินชีวิตที่ถูกต้อง การเป็นบัณฑิตที่แท้ได้ต้องมีธรรมะเป็นพื้นฐาน โดยอาศัยแนวทางจากหลักธรรมคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระธรรมวินัยที่พระภิกษุสงฆ์และพุทธศาสนิกชนยึดถือปฏิบัติมาจนถึงปัจจุบัน