มหาโควินทสูตร (ตอนที่ 7 ออกบวช)
บุคคลผู้ปีติในธรรม เมื่อดื่มรสอันเกิดแต่วิเวก และรสแห่งความสงบแล้ว ย่อมไม่มีความกระวนกระวาย ไม่มีบาป
ศาสดาเอกของโลก (4)
สติของชนเหล่าใดไปแล้วในพระพุทธเจ้าเป็นนิตย์ ทั้งกลางวันและกลางคืน ชนเหล่านั้นชื่อว่าเป็นสาวกของพระโคดม ตื่นอยู่ ตื่นดีแล้วในกาลทุกเมื่อ...
ทศชาติชาดก เรื่อง ภูริทัต ตอนที่ 2 ต้นเหตุแห่งเภทภัย
และความดำรินี้เอง คือ จุดเริ่มต้นของความหายนะที่กำลังจะเกิดกับพระราชโอรสในอนาคตอันใกล้ นับแต่วันนั้น เมื่อพระราชาทรงสดับถ้อยคำสรรเสริญเยินยอของพระราชโอรสครั้งใด ก็คล้ายดั่งคมมีดที่กรีดใจทีละน้อยทีละน้อย ความริษยาก็เริ่มทวีความรุนแรงมากขึ้น
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 181
พระเจ้าจุลนี ทรงระลึกถึงเสียงคร่ำครวญที่แว่วมา คล้ายเสียงพระนางนันทาเทวี เมื่อยามดึกของคืนที่ผ่านมา กอปรกับทรงพิจารณาจากคำยืนยันหนักแน่นของมโหสถ จึงทรงปักใจเชื่อว่า “ที่มโหสถพูดมานั้น น่ากลัวจะเป็นความจริงเสียแล้ว”
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 170
เมื่อทหารเหล่านั้น นำเสด็จกษัตริย์ทั้งสี่พระองค์มาถึงเชิงบันได ก็ช่วยกันเปิดปากประตูอุโมงค์ แล้วทูลเชิญให้เสด็จพระดำเนินไปตามเส้นทางนั้น เมื่อเสด็จเข้าไปสู่ภายในอุโมงค์แล้ว พระนางทอดพระเนตรเห็นทางลับนั้น ก็ทรงมีพระทัยพิศวงยิ่งนัก ถึงกับทรงปรารภขึ้นว่า “เอ...ชอบกลอยู่นะ เราอยู่ที่นี่มานาน ตั้งแต่เกิดมาจนแก่ปูนนี้ ก็ยังไม่เคยลงมาตามทางนี้เลย”
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 169
จากนั้น ทรงมีพระราชบัญชาให้เหล่าเสนาตระเตรียมกองทัพใหญ่ ๑๘กองทัพ พร้อมกับให้สัญญาณแก่พระราชาทั้งร้อยเอ็ดพระองค์ว่า “ถึงเวลาแล้วที่พวกเราจะร่วมใจกันเด็ดหัวศัตรูผู้ขลาดเขลา เมื่อเผด็จศึกได้แล้ว เราถึงจะกลับมาดื่มฉลองชัยบานกันให้มโหฬารทีเดียว” สิ้นพระกระแสรับสั่งของพระเจ้าจุลนี กองทัพทั้งหมดก็เคลื่อนพลออกจากปัญจาลนครทันที
มงคลที่ ๓๓ เห็นอริยสัจ - พระปิณโฑลภารทวาชเถระ ตอนที่ ๔
พระเถระอธิบายให้ฟังว่า "ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระบรมศาสดาตรัสสอนไว้ว่า...มาเถิดภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงตั้งจิตว่า ผู้นี้เป็นมารดา ในหญิงผู้ที่พอเป็นมารดาได้ ส่วนหญิงผู้ที่พอเป็นพี่สาว น้องสาวและลูกสาว พวกเธอจงคิดว่าเป็นพี่สาว เป็นน้องสาวและเป็นลูกสาว...ด้วยวิธีการอย่างนี้แหละ จึงเป็นเหตุให้พระภิกษุหนุ่มทั้งหลาย ประพฤติพรหมจรรย์อันบริสุทธิ์บริบูรณ์อยู่ได้จนตลอดชีวิต"
มงคลที่ ๒๗ มีความอดทน - ขันติธรรมอยู่ที่ไหน
พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงสรรเสริญขันติธรรมว่าเป็นเลิศ เป็นหลักเป็นประธานที่ทำให้เกิดคุณ คือ ศีล สมาธิ กุศลธรรมทุกอย่างจะเจริญขึ้นมาได้ ก็เพราะอาศัยขันติเป็นพื้นฐาน ผู้มีขันติธรรมอยู่ในใจ ได้ชื่อว่าเป็นผู้ย่างขึ้นสู่หนทางสวรรค์และนิพพานโดยแท้ พระพุทธองค์ยังทรงสรรเสริญอีกว่า "ยกเว้นปัญญาแล้ว เราตถาคตสรรเสริญว่า ขันติเป็นเลิศ" เพราะฉะนั้น ขันติบารมีจึงเป็นบารมีที่เราจะต้องสั่งสมไว้ให้มาก ให้ติดตามตัวเราไปทุกภพทุกชาติ
มงคลที่ ๒๔ มีความสันโดษ - รู้จักพอ ก่อให้เกิดสุข
การเปลี่ยนแปลง คือ การแสวงหา นั่นคือ สัญญาณบอกให้เรารู้ว่า เรายังไม่พบของที่ดีจริง จึงเบื่อหน่ายเร็ว หายเห่อเร็ว เมื่อเบื่อก็เปลี่ยนแปลง แสวงหากันต่อๆ ไปอย่างนั้น การแสวงหาที่ไม่มีที่สิ้นสุดนี้แหละ ที่เรียกว่าไม่สันโดษ
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - ทำอย่างไรได้อย่างนั้น
บางคนมีความเข้าใจไม่ถูกต้อง คิด ว่าบุญบาปไม่มี เพราะเป็นสิ่งที่มองไม่เห็น จึงไม่เชื่อเรื่องบุญกุศล แต่ผู้รู้ทั้งหลาย ได้พิสูจน์แล้วว่า บุญบาปมีจริง เป็นของละเอียดที่รู้เห็นได้ด้วยธรรมกายเท่านั้น สิ่งที่ละเอียดลึกซึ้งเกินกว่าวิสัยของปุถุชนจะคิดเองได้ เป็นสิ่งที่ไม่ควรคิด เป็นอจินไตย ดังที่พระพุทธองค์ตรัสไว้ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อจินไตย ๔ อย่างนี้ ไม่ควรคิด ผู้ใดคิด ผู้นั้นพึงมีส่วนแห่งความเป็นบ้า ได้รับความลำบากเปล่า"