อำนาจเจริญสว่างโชติช่วงทุกชุมชน
เกาะติดสถานการณ์ชวนบวชอุบาสิกาแก้วห้าแสนคน
พิธีปิดแผ่นทองรูปเหมือนพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) และปิดแผ่นทองดวงแก้วตะวันธรรม
คณะศิษยานุศิษย์วัดพระธรรมกาย ทั้งภายในและต่างประเทศ ได้ร่วมจัดพิธีปิดแผ่นทองรูปเหมือนพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) พระผู้ปราบมาร และพิธีปิดแผ่นทองดวงแก้วตะวันธรรม ณ อาคารศูนย์เรียนรู้โถงช้างเอราวัน วัดพระธรรมกาย
ธุดงค์ เป็นวัตร แต่ไม่เป็นศีล
“ธุดงค์” เป็นวัตรไม่ใช่ศีล เป็นข้อแนะนำให้ปฏิบัติเพื่อฝึกตัว ไม่ใช่ข้อบังคับว่าต้องทำ แบ่งเป็น 3 หมวด คือ จีวร อาหาร และ สถานที่
ธุดงค์ กับ ดอกไม้
การที่ “ธุดงค์” หรือ “พระธุดงค์” มาในเมือง มีสาธุชนมาต้อนรับและโปรยดอกไม้ ก็เพื่อสร้างความสามัคคี สร้างกิจกรรมร่วมของพุทธบริษัท 4 โยมจะได้มีส่วนแห่งบุญในการปฏิบัติธรรมของพระธุดงค์และอยู่ในหลักคารวะ 6 อันพระพุทธองค์สรรเสริญ
สงฆ์ 6 จังหวัด เยี่ยมหลวงพ่อธัมมชโย เปิดใจเป็นห่วงใยวัดพระธรรมกายจากภัยพระพุทธศาสนา
พระมหานพพร ปุญฺญชโย ผู้ช่วยผู้อำนวยการสำนักสื่อสารองค์กรวัดพระธรรมกาย กล่าวว่า วันนี้ 15 ก.ค. 2559 ที่ห้องแก้วสารพัดนึก สภาธรรมกายสากล วัดพระธรรมกาย คณะสงฆ์กว่า 200 รูป จาก 6จังหวัด ได้แก่ ศรีสะเกษ นครพนม ยโสธร อำนาจเจริญ นครนายก และกรุงเทพมหานคร นำโดยพระครูบูรพาธรรมประทีป รองเจ้าคณะอำเภอเรณูนคร จ.นครพนม
ธุดงค์ธรรมชัยรุ่นแสนรูป ตอนที่ 1
ธุดงค์ เป็นวัตรปฏิบัติที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตไว้ เป็นอุบายวิธีกำจัดขัดเกลากิเลส ทำให้เกิดความมักน้อยสันโดษยิ่งขึ้น ไม่สะสม เพื่อให้เบาสบาย ไปมาได้สะดวกด้วยไม่มีภาระมาก เหมือนนกที่มีเพียงปีกก็บินไปฉะนั้น
บวชพระหนึ่งแสนรูปเข้าพรรษาทั่วไทย…บุรีรัมย์ อำนาจเจริญ ร้อยเอ็ด ชลบุรี
บรรยากาศการทำหน้าที่ฟื้นฟูพระพุทธศาสนาให้กลับมารุ่งเรืองเหมือนย้อยยุคพุทธกาล
ของจริงต้องคู่กับคนจริงนั้นเป็นอย่างไร
ข้อความที่ว่า “ของจริงต้องคู่กับคนจริง” นั้นเป็นอย่างไร? ทำไมบางคนเข้าวัดปฏิบัติธรรม สวดมนต์นั่งสมาธิไม่เคยขาด แต่ยังไม่เข้าถึงพระธรรมกายบางคนกว่าจะชวนเข้าวัดได้ก็แสนยาก แต่พอมานั่งสมาธิกลับเข้าถึงพระธรรมกายได้ง่าย ๆ
เกาะติดบรรยากาศเดินธุดงค์ธรรมชัยปีที่ 2 วันที่ 3 มกราคม 2556
วันนี้เป็นวันที่สองของการเดินธุดงค์ แม้แดดจะแรง แต่สองเท้าของพระทุกรูปก็ยังคงก้าวย่างไปข้างหน้า สองตามองทาง มีหลวงปู่อยู่ในใจตลอดเวลาระหว่างเส้นทางสายทองคำ
ธุดงค์ธรรมชัยกับการปฏิบัติธุดงควัตร
ธุดงควัตร เป็นพุทธประเพณีที่ถือปฏิบัติมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล เนื่องจาก ธุดงค์ คือ บทฝึกตนในการ กำจัดกิเลสทางพระพุทธศาสนาแบบเฉียบพลัน ที่เรียกว่า ธุตังคะ มีทั้งหมด 13 ข้อ โดยผู้ปฏิบัติจะได้ฝึกความ อดทน และใช้ความเพียรสูง กว่าปกติ ซึ่ง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ได้บัญญัติให้การถือธุดงค์เป็นข้อบังคับ คือ ใครจะถือก็ได้ หรือไม่ถือก็ได้ แต่พระองค์ทรงอนุญาตให้ทำได้ เพราะเป็นข้อปฏิบัติที่เกื้อกูลและสนับสนุนให้ บรรลุธรรมง่ายขึ้น