คำว่าอจินไตยหมายถึงอะไร ?
อจินไตย แปลว่า เรื่องที่ไม่ควรคิด เพราะเกินภูมิปัญญาของมนุษย์ที่จะใช้ความคิดปกติไปคิดได้ คิดแล้วจะมีส่วนแห่งความเป็นบ้าการตั้งประเด็นปัญหา รวบรวมข้อมูล ทดลองวิจัย สุดท้ายก็สรุป ใช้ไม่ได้กับเรื่องอจินไตย
วิธุรบัณฑิต บำเพ็ญสัจบารมี (๔)
มนุษย์ต่างเสาะแสวงหาความรู้ต่างๆ จากตำรับตำราบ้าง จากประสบการณ์ของคนรุ่นก่อน ผนวกกับประสบการณ์ของตัวเองบ้าง
อานิสงส์บูชาพระพุทธสรีระ
ความเลื่อมใสศรัทธาที่ตั้งมั่นดีแล้วในบุคคลผู้เลิศเปรียบเสมือนบันไดก้าวแรกและเป็นก้าวสำคัญที่จะนำเราก้าวไปสู่ความเต็มเปี่ยมของชีวิต ขณะยังอยู่ในโลกมนุษย์ก็จะพรั่งพร้อมไปด้วยรูปสมบัติ คุณสมบัติ ทรัพย์สมบัติ
บุญเท่านั้นที่ปรารถนา
บัณฑิตทั้งหลาย สรรเสริญความไม่ประมาทในการสั่งสมบุญ เพราะผู้ไม่ประมาทย่อมยึดเอาประโยชน์ทั้งสองไว้ได้ คือประโยชน์ในปัจจุบันนี้และประโยชน์ในสัมปรายภพ
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : ไม่ใส่ใจสรรเสริญนินทา
ยากนักที่ใครจะปฏิเสธสรรเสริญและนินทา สรรเสริญ นินทา เป็นของคู่โลกมายาวนาน ถ้าเราใส่ใจคำสรรเสริญนินทา
ผู้ให้คือผู้ชนะ
ดวงจันทร์ปราศจากมลทิน โคจรไปในอากาศ ย่อมสว่างกว่าหมู่ดาวทั้งปวงในโลก ด้วยรัศมี ฉันใด บุคคลผู้สมบูรณ์ด้วยศีล มีศรัทธา ก็ฉันนั้น ย่อมไพโรจน์กว่าผู้ตระหนี่ทั้งปวง
เราคือ..ผู้ออกแบบชีวิต
การที่เรามองโลกด้วยมุมมองแตกต่างกัน เป็นเพราะเราเกิดมาแตกต่างกัน ได้สัมผัสโลกในแง่มุมที่ต่างกัน และมีประสบการณ์ในโลกนี้ต่างกัน ซึ่งในทางพระพุทธศาสนาระบุว่า “กรรม”เป็นตัวกำหนดความแตกต่างเหล่านี้
ผู้นำชาวพุทธนานาชาติมั่นใจธรรมะช่วยสร้างสันติภาพ
อยู่ก็รัก จากก็คิดถึง
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สาราณียธรรม ๖ ประการนี้ คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เข้าไปตั้งกายกรรม วจีกรรม มโนกรรมประกอบด้วยเมตตาในเพื่อนพรหมจรรย์ทั้งหลาย ทั้งต่อหน้าและลับหลัง แบ่งปันลาภทั้งหลาย ที่ประกอบด้วยธรรมได้มาโดยธรรม แม้โดยที่สุดบิณฑบาต ย่อมบริโภคร่วมกันกับเพื่อนพรหมจรรย์ทั้งหลายผู้มีศีล ภิกษุเป็นผู้มีศีลไม่ขาด ไม่ทะลุ ไม่ด่าง ไม่พร้อย เป็นไท อันวิญญูชนสรรเสริญ อันตัณหาทิฏฐิไม่ยึดถือ เป็นไปพร้อมเพื่อสมาธิ เสมอกันกับเพื่อนพรหมจรรย์ทั้งหลาย ทั้งต่อหน้าและลับหลัง อนึ่ง ทิฏฐิอย่างใดอย่างหนึ่งอันเป็นของประเสริฐ เป็นเครื่องนำสัตว์ออกจากทุกข์ ย่อมนำออกเพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบแก่ผู้กระทำทิฏฐิอันนั้น มีอยู่ ภิกษุเป็นผู้ถึงความเสมอกันด้วยทิฏฐิในทิฏฐิเห็นปานนั้นกับเพื่อนสหพรหมจารีทั้งหลาย ทั้งต่อหน้าและลับหลัง ธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล เป็นที่ตั้งแห่งความให้ระลึกถึง เป็นเครื่องกระทำให้เป็นที่รัก เป็นเครื่องกระทำให้เป็นที่เคารพ ย่อมเป็นไปเพื่อความสงเคราะห์ เพื่อความไม่วิวาท เพื่อความสามัคคี เพื่อความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
การดูแลสุขภาพกายและสุขภาพใจให้เหมาะสมแก่การฝึกสมาธิและเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงธรรม
ร่างกายของเรานี้ประกอบด้วยธาตุสี่ที่ไม่บริสุทธิ์จึงเสื่อมสลายตลอดเวลา ทำให้ต้องหา ธาตุสี่จากภายนอกมาเติมเข้าไปอยู่เรื่อย ๆ ไม่มีสิ้นสุด ดังที่เราต้องประกอบกรรมต่าง ๆ เพื่อการเติมธาตุสี่ แต่กายนั้นก็ทำกรรมตามที่ใจของเราเป็นตัวสั่งการ ส่วนของใจทำหน้าที่รู้และคิด ส่วนของกายพูดและทำ