รัตนชาติและพระรัตนตรัย
ดูก่อนปหาราทะ มหาสมุทรมีรัตนะมากมายหลายชนิด รัตนะในมหาสมุทรนั้น คือ แก้วมุกดา แก้วมณี แก้วไพฑูรย์ สังข์ ศิลา แก้วประพาฬ เงิน ทอง ทับทิม มรกต ฉันใดก็ฉันนั้น ดูก่อนปหาราทะ ธรรมวินัยนี้ก็มีรัตนะมากมายหลายชนิดเหมือนกัน รัตนะในธรรมวินัย คือ สติปัฏฐาน ๔ สัมมัปปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ อินทรีย์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ อริยมรรคมีองค์ ๘ ข้อที่ธรรมวินัยนี้มีรัตนะมากมายหลายชนิดนี้ เป็นธรรมที่น่าอัศจรรย์อันไม่เคยมีมาในธรรมวินัยนี้ ที่ภิกษุทั้งหลายได้เห็นแล้ว จึงอภิรมย์ยินดียิ่งในศาสนานี้อยู่
มูลกรรมฐาน กรรมฐานบทแรกของภิกษุผู้บวชใหม่ "เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ"
มูลกรรมฐาน คืออะไร มีความสำคัญประการใด ทำไมพระอุปัชฌาย์ทุกองค์จะต้องบอกมูลกรรมฐานแก่ภิกษุผู้บวชใหม่ทุกครั้ง ... มาหาความรู้กันได้ที่นี่ค่ะ "เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ"
ปชาบดีเถรี ผู้รัตตัญญู (๒)
ความชั่วทางกาย วาจา และใจของบุคคลใดไม่มี เราเรียกบุคคลนั้น ผู้สำรวมแล้วโดยฐานะ ๓ ว่า เป็นพราหมณ์
พุทธชิโนรส (๔)
พระตถาคตผู้มีพระปัญญาเฉลียวฉลาด ทรงสมบูรณ์ด้วยศีล ทรงรักษาเราเหมือนนกต้อยตีวิด พึงรักษาไข่ เหมือนเนื้อจามรีรักษาขนหางสูงสุดฉะนั้น
เหตุการณ์ในช่วงปลายพุทธกาลที่นำไปสู่การเกิดนิกายเถรวาท
มูลเหตุของความแตกแยกตั้งแต่สมัยปลายพุทธกาลจนถึงการสังคายนาครั้งที่ 1 2 และ 3
คนไร้ศาสนา
เมื่อหลายสิบปีก่อนมีหลายคนประกาศตัวว่าตนเองไม่มีศาสนาคงถูกมองว่าประหลาด แต่ถ้าปัจจุบันไม่เป็นแบบนั้นแล้วเพราะหลายคนออกมาบอกว่าไม่มีศาสนากว่า 1,100 ล้านคนทั่วโลก
อยู่ก็รัก จากก็คิดถึง
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สาราณียธรรม ๖ ประการนี้ คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เข้าไปตั้งกายกรรม วจีกรรม มโนกรรมประกอบด้วยเมตตาในเพื่อนพรหมจรรย์ทั้งหลาย ทั้งต่อหน้าและลับหลัง แบ่งปันลาภทั้งหลาย ที่ประกอบด้วยธรรมได้มาโดยธรรม แม้โดยที่สุดบิณฑบาต ย่อมบริโภคร่วมกันกับเพื่อนพรหมจรรย์ทั้งหลายผู้มีศีล ภิกษุเป็นผู้มีศีลไม่ขาด ไม่ทะลุ ไม่ด่าง ไม่พร้อย เป็นไท อันวิญญูชนสรรเสริญ อันตัณหาทิฏฐิไม่ยึดถือ เป็นไปพร้อมเพื่อสมาธิ เสมอกันกับเพื่อนพรหมจรรย์ทั้งหลาย ทั้งต่อหน้าและลับหลัง อนึ่ง ทิฏฐิอย่างใดอย่างหนึ่งอันเป็นของประเสริฐ เป็นเครื่องนำสัตว์ออกจากทุกข์ ย่อมนำออกเพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบแก่ผู้กระทำทิฏฐิอันนั้น มีอยู่ ภิกษุเป็นผู้ถึงความเสมอกันด้วยทิฏฐิในทิฏฐิเห็นปานนั้นกับเพื่อนสหพรหมจารีทั้งหลาย ทั้งต่อหน้าและลับหลัง ธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล เป็นที่ตั้งแห่งความให้ระลึกถึง เป็นเครื่องกระทำให้เป็นที่รัก เป็นเครื่องกระทำให้เป็นที่เคารพ ย่อมเป็นไปเพื่อความสงเคราะห์ เพื่อความไม่วิวาท เพื่อความสามัคคี เพื่อความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
การบวชในพระพุทธศาสนา ตอนที่ 2
บวชพระ งานบวชพระ การบวชพระ อานิสงส์การบวชพระ การบวชเป็นประเพณีไทยที่สืบเนื่องมาแต่โบราณกาล ชายไทยเมื่ออายุครบบวชจะต้องบวชให้ได้สักครั้งหนึ่งในชีวิต
ประมวลภาพพิธีบรรพชาสามเณรในโครงการบวชพระ 1 แสนรูป ณ วัดพระธรรมกาย
ประมวลภาพพิธีบรรพชาสามเณรในโครงการบวชพระ 1 แสนรูป ณ วัดพระธรรมกาย วันพุธที่ 20 มีนาคม พ.ศ.2556
สมณะแท้ คือผู้เข้าถึงพระรัตนตรัย
บุคคลเหล่านี้คือ คู่แห่งบุรุษ ๔ คู่ นับเรียงกันได้ ๘ บุรุษ คือพระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ที่ควรแก่สักการะที่เขานำมาบูชา ควรแก่สักการะที่เขาจัดไว้ต้อนรับ ควรแก่การรับทักษิณาทาน เป็นผู้ที่บุคคลทั่วไปควรทำอัญชลี และเป็นเนื้อนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า ข้าพเจ้าบูชาอย่างยิ่ง ในพระสงฆ์หมู่ นั้น