อสุรกายภูมิ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัตว์ที่ตายจากมนุษย์ไปแล้ว จะกลับมาเกิดเป็นมนุษย์อีกมีน้อย โดยที่แท้สัตว์ทั้งหลาย ที่ตายจากมนุษย์ไปแล้ว ย่อมไปเกิดในเปตวิสัย มีประมาณมากกว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัตว์ที่จุติจากเปตวิสัยไปแล้ว จะกลับมาเกิดเป็นมนุษย์มีน้อย โดยที่แท้สัตว์ที่จุติจากเปตวิสัยไปแล้ว ย่อมกลับไปเกิดในเปตวิสัย ในนรก ในกำเนิดสัตว์เดรัจฉาน มีประมาณมากกว่า
บัณฑิตควรตักเตือนกัน
คนเราควรเตือนสติกัน ควรแนะนำกัน และควรห้ามปรามกันจากอกุศลกรรม คนที่ทำเช่นนั้น ย่อมเป็นที่รักของคนดี แต่ไม่เป็นที่รักของคนไม่ดี
บรมครูผู้ยิ่งใหญ่ - พุทธประวัติ
พุทธประวัติ พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 191
การกลับมาสู่ปัญจาลนครของมโหสถในครั้งนี้ สร้างความไม่พอพระทัยให้กับพระนางนันทาเทวีเป็นอันมาก เพราะตอนที่พระนางเคยถูกคนของมโหสถจับกุมตัวไปยังมิถิลานคร แม้จะล่วงเลยมานานกว่าสิบปีแล้ว แต่ภาพเหล่านั้นก็ยังฉายชัดอยู่ในพระหทัย พระนางจึงทรงผูกพระทัยเจ็บฝังแน่นในพระหทัยตลอดมา ทรงหาโอกาสที่จะทำลายมโหสถเสียให้ได้
ขอเชิญร่วมพิธีทอดผ้าป่า "สร้างหมู่บ้านปฏิบัติธรรม" แห่งแรกในญี่ปุ่น 12 เมษายนนี้
ขอเชิญร่วมพิธีทอดผ้าป่า "สร้างหมู่บ้านปฏิบัติธรรม" แห่งแรกในญี่ปุ่น ณ วัดพระธรรมกายกุมมะ ในวันอาทิตย์ที่ 12 เมษายน พ.ศ.2558
นิยามหรือผังของสรรพสิ่ง
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ไม่ว่าพระตถาคตทั้งหลาย จะเกิดขึ้นหรือไม่เกิดขึ้นก็ตาม ธาตุคือสิ่งที่ทรงตนเองอยู่ได้เอง ความตั้งอยู่โดยธรรมดา ความแน่นอนโดยธรรมดาอันนั้น ตถาคตตรัสรู้ บรรลุธาตุนั้นว่า สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา ครั้นได้ตรัสรู้แล้ว ได้หยั่งรู้แล้ว จึงบอก แสดง บัญญัติ แต่งตั้ง เปิดเผย จำแนก ทำให้ตื้นว่า สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา
สังคหวัตถุ-4-หลักการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
ท่านทั้งหลายทราบหรือไม่ว่า การที่เรามาอยู่ร่วมกันในสังคมนั้นต้องปฏิบัติตนอย่างไร จึงจะอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านทรงได้ให้หลักธรรมในการดำเนินชีวิตในสังคมอย่างเป็นสุขคือ สังคหวัตถุ 4 ซึ่งประกอบด้วยหลักธรรม 4 ข้อ ได้แก่ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา และ สมานัตตา โดยมีรายละเอียดแต่ละข้อดังนี้
ความสุขของคนดี
มิอาจปฎิเสธได้ว่า สิ่งที่มนุษย์ทุกคนต้องการคือ “ความสุข” แต่การตีค่าความสุขนั้นอาจมีบรรทัดฐานที่แตกต่างกัน
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑ ( ศุภนิมิต )
เรื่องมโหสถบัณฑิตแห่งมิถิลานครนี้ เป็นเรื่องที่ค่อนข้างยาว แต่มีเนื้อหาสาระที่น่ารู้น่าศึกษามาก เป็นเรื่องเกี่ยวกับการใช้ปัญญา และปฏิภาณอันเฉียบแหลมของพระบรมโพธิสัตว์ แม้บางครั้งจะตกอยู่ในสถานการณ์ที่คับขัน ขนาดเอาชีวิตเกือบไม่รอด แต่ท่านก็ยังมีจิตใจมั่นคง ใช้สติปัญญาเปลี่ยนวิกฤติมาเป็นโอกาส จนสามารถเอาชนะอุปสรรคต่างๆ ได้
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๖ ( ผู้ผดุงความยุติธรรม )
หนุ่มชาวนาตื่นขึ้นมาไม่เจอโคของตน ก็รีบวิ่งออกติดตามรอยเท้าโคไป เมื่อตามไปพบก็ร้องบอกโจรให้นำโคคืนมา ตนจะไม่เอาเรื่องเอาราวอะไร แต่เหตุการณ์กลับตรงข้าม เพราะโจรอ้างว่าโคนี้เป็นของเขา เมื่อไม่ยอมกันทั้งสองเกิดการทะเลาะวิวาท ชาวบ้านจึงพามาหามโหสถให้ช่วยตัดสินว่า ใครเป็นเจ้าของโคตัวนี้กันแน่