มหาโควินทสูตร (ตอนที่ 1 เทวสันนิบาต)
ความพร้อมเพรียงของหมู่เป็นเหตุแห่งสุข และการสนับสนุนผู้พร้อมเพรียงกัน ก็เป็นเหตุแห่งสุข ภิกษุผู้ยินดีในความพร้อมเพรียงกัน ตั้งอยู่ในธรรม ย่อมไม่เสื่อมจากธรรมอันเกษมจากโยคะ ภิกษุสมานสงฆ์ให้พร้อมเพรียงกันแล้ว ย่อมบันเทิงในสรวงสวรรค์ตลอดกัป
วิธุรบัณฑิตบําเพ็ญสัจจบารมี (5)
บุคคลอยู่ในเรือนของผู้ใดแม้คืนเดียว ได้กินข้าวและดื่มนํ้าแล้ว ไม่ควรคิดร้ายแก่ผู้นั้นแม้ด้วยใจ ผู้คิดร้ายต่อบุคคลเช่นนั้น ชื่อว่าเผาฝ่ามืออันชุ่ม และชื่อว่าประทุษร้ายมิตร บุคคลนั่งหรือนอนที่ร่มเงาของต้นไม้ใด ไม่ควรหักรานกิ่งของต้นไม้นั้น เพราะผู้ประทุษร้ายมิตรเป็นคนเลวทราม
ภารกิจแรกที่ยิ่งใหญ่ของเอ็มเอ็มซี (MMC)
MMC (Middle Way Meditation Coach) หมายถึง ผู้ช่วยสอนสมาธิเบื้องต้น ที่ออกไปทำหน้าที่สร้างสันติสุขที่แท้จริงบนโลกใบนี้
มงคลที่ ๒๕ มีความกตัญญู - อภิชาตบุตรยอดกตัญญู
อานุภาพของการบำรุงบิดามารดาไม่ใช่ เรื่องธรรมดา ผู้ที่เลี้ยงดูบิดามารดา แม้ยักษ์ผู้มีใจเหี้ยมโหดก็ยังอ่อนโยนได้ แล้วเกิดความเลื่อมใส จนเปลี่ยนจากยักษ์ที่เหี้ยมโหดกลายมาเป็นยักษ์ใจดี มีศีลมีธรรม พระพุทธองค์ถึงได้ตรัสว่า เพราะการปรนนิบัติในบิดามารดา
ศาสดาเอกของโลก (6)
ชนเหล่าใด ถึงพระพุทธเจ้าว่าเป็นที่พึ่งที่ระลึกอันสูงสุด ชนเหล่านั้น ละโลกนี้ไปแล้ว จักไม่ไปสู่อบายภูมิ เมื่อละกายมนุษย์นี้แล้ว จักยังหมู่เทวดาให้บริบูรณ์...
มงคลที่ ๑๘ ทำงานไม่มีโทษ - ชีวิตดุจไม้ใกล้ฝั่ง
ยามใดที่บุคคลทั้งหลายละเลยการฟังธรรม ยามนั้นเขาย่อมเสียโอกาส ที่จะได้สัมผัสกับอมตธรรมอันทรงคุณค่า ทุกวันนี้มนุษย์ยังสับสนอยู่ ไม่รู้ว่าเกิดมาทำไม อะไรคือเป้าหมายที่แท้จริงของชีวิต เมื่อไม่ได้ฟังธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ชีวิตจึงต้องเวียนวนอยู่ในกระแสแห่งความทุกข์ระทม หากจะมีความสุขบ้าง ก็เพียงเล็กน้อยหรือชั่วครั้งชั่วคราวเท่านั้น เหมือนหลับแล้วฝันไป
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - ชีวิตใหม่ในเพศสมณะ
พระภิกษุสามเณรที่บวชเข้ามาในบวรพระพุทธศาสนา คือ ผู้เห็นภัยในวัฏสงสาร เห็นว่าชีวิตนี้เต็มไปด้วยความทุกข์ ทั้งทุกข์ประจำและทุกข์จร ไม่ว่าจะเกิดเป็นชนชั้นสูง ชั้นกลาง หรือชั้นล่าง ต่างก็มีทุกข์ด้วยกันทั้งสิ้น เพราะฉะนั้น จึงสละเพศฆราวาส ออกบวชเป็นบรรพชิต ปลงผมและหนวด ละทิ้งเครื่องนุ่งห่มที่มีราคาของคฤหัสถ์
มงคลที่ ๒๒ มีความเคารพ - ทางมาแห่งปัญญาบารมี
จากเรื่องนี้ จะเห็นได้ว่า ขนาด พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้เป็นบรมศาสดาเอกของโลก ก็ยังทรงเคารพพระธรรมที่พระองค์ได้ตรัสรู้ เพราะความเคารพในธรรมเป็นทางมาแห่งความเจริญรุ่งเรือง ไม่เป็นไปเพื่อความเสื่อม ในพระไตรปิฎกมีหลายสูตรที่พระพุทธองค์ตรัสเรื่องความเคารพไว้ ทรงสั่งสอนทั้งแก่ภิกษุภิกษุณี อุบาสกอุบาสิกา และเหล่าเทวดา ไม่ว่าจะเป็นการเคารพในพระศาสดา เคารพในพระธรรม เคารพในพระสงฆ์ เคารพในการศึกษา เคารพในสมาธิ เคารพในความไม่ประมาท และเคารพในการปฏิสันถาร
ศาสดาเอกของโลก (3)
พระพุทธเจ้า ผู้มีพระมหากรุณาอันยิ่งใหญ่ บำเพ็ญบารมีทุกประการจนเต็มเปี่ยม บรรลุพระสัมโพธิญาณอันสูงสุด ด้วยอำนาจแห่งการนอบน้อมนั้น ขอความชนะและความเป็นมงคล จงบังเกิดมีแก่ข้าพระพุทธเจ้า...
ศาสดาเอกของโลก (5)
เมื่อใดแล ธรรมทั้งหลาย ปรากฏแก่พราหมณ์ผู้มีความเพียรเพ่งอยู่ เมื่อนั้น ความสงสัยทั้งปวงของพราหมณ์นั้น ย่อมดับหายไป เพราะมารู้ชัดธรรมพร้อมทั้งเหตุ...