ศีล..สะพานข้ามสู่เทวโลก
“สีลํ เสตุ มเหสกฺโข สีลํ คนฺโธ อนุตฺตโร สีลํ วิเลปนํ เสฏฺฐํ เยน วาติ ทิโส ทิสํ ศีลเป็นสะพานข้ามฟากอันมีพลังมาก ศีลมีกลิ่นหอมอันยอดเยี่ยม ศีลเป็นเครื่องลูบไล้อันประเสริฐ บุคคลผู้สมบูรณ์ด้วยศีล ย่อมหอมฟุ้งไปทั่วสารทิศ” (ขุ.เถร.)
ความไม่ประมาท
ความไม่ประมาท คือการมีสติกำกับตัวอยู่เสมอ ไม่ว่าจะคิด จะพูด จะทำสิ่งใดๆ ไม่ยอมถลำลงไปในทางที่เสื่อม และไม่ยอมพลาดโอกาสในการทำความดี ตระหนักดีถึงสิ่งที่ต้องทำ ถึงกรรมที่ต้องเว้น ใส่ใจสำนึกอยู่เสมอในหน้าที่ ไม่ปล่อยปละละเลย กระทำอย่างจริงจังและดำเนินรุดหน้าตลอดเวลา
เมณฑกเศรษฐีผู้ใจบุญ (๖)
ธรรมดาพวกมนุษย์ ย่อมไปสู่สำนักของพวกมนุษย์ พวกโคก็ไปสู่ฝูงโค บรรพชิตก็ไปสู่สำนักของบรรพชิต บัณฑิตก็เข้าไปหาพวกบัณฑิต
มหาธรรมยาตราธุดงค์ธรรมชัย เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้อง
มหาธรรมยาตราธุดงค์ธรรมชัย คืออะไร ธรรมยาตรา คำนี้ หลายคนอาจไม่เคยได้ยิน แต่คำนี้มีมานานแล้ว โดยมีวัตถุประสงค์คือ เพื่อปฏิบัติสมาธิในท่าเดิน ฝึกสติ และสืบทอดธรรมเนียมที่มีมาแต่โบราณกาล คือ การเดินจาริก "ธรรมจาริก"
ปชาบดีเถรี ผู้รัตตัญญู (๑)
ในที่ใด ไม่มีความแก่หรือความตาย ไม่มีการสมาคมด้วยสัตว์และสังขารอันไม่เป็นที่รัก ไม่มีการพลัดพรากจากสัตว์และสังขารอันเป็นที่รัก ที่นั้นนักปราชญ์กล่าวว่าเป็นอสังขตสถาน
สัมมา อะระหัง กับความหมายของคำภาวนา
ความหมายของคำว่า.. “สัมมา อะระหัง” คำว่า “สัมมา อะระหัง” เป็นภาษาบาลี มีศัพท์ควบคู่กันอยู่ 2 ศัพท์ คือ “สัมมา” และ “อะระหัง
สุมนสามเณร
บุคคลใดมีสัจจะ มีธรรมะ มีความไม่เบียดเบียน มีความสำรวม มีความข่มใจ บุคคลนั้นชื่อว่า เป็นนักปราชญ์ผู้บริสุทธิ์ ชื่อว่าเป็นเถระ ผู้มั่นคงในธรรม
พระอัญญาโกณฑัญญะ ผู้รัตตัญญู (๒)
พระอัญญาโกณฑัญญะเถระนี้ เป็นผู้ตรัสรู้ตามพระพุทธองค์ก่อนใคร เป็นผู้มีความเพียรเครื่องก้าวหน้าอย่างแรงกล้า เป็นผู้ได้ธรรมเครื่องอยู่เป็นสุข อันเกิดแต่วิเวกเนืองนิตย์ คุณอันใดที่พระสาวกผู้ทำตามคำสอนของพระศาสดาพึงบรรลุ คุณอันนั้นทุกอย่าง พระอัญญาโกณฑัญญะเถระผู้ไม่ประมาท ได้บรรลุแล้วโดยลำดับ เป็นผู้มีอานุภาพมาก เป็นผู้ได้วิชชา ๓ เป็นผู้ฉลาดในเจโตปริยญาณ เป็นธรรมทายาทของพระพุทธองค์ มีปกติกราบไหว้ซึ่งพระบาททั้งสองของพระศาสดา
เสียงสาธุการของเทวดา
มนต์ทั้งหลาย มีการไม่ท่องบ่นเป็นมลทิน เรือนมีความไม่หมั่นเป็นมลทิน ความเกียจคร้านเป็นมลทินของผิวพรรณ ความประมาทเป็นมลทินของผู้รักษา
ชีวิตของนักสร้างบารมี
นรชนเหล่าใด คบหาสัตบุรุษผู้มีปัญญาดี ได้รับยกย่องว่าเป็นนักปราชญ์ ชนเหล่านั้นตั้งศรัทธาไว้ในพระสุคตเป็นเค้ามูลแล้ว ย่อมไปสู่เทวโลก หรือพึงเกิดในตระกูลสูงในโลกนี้ ชนเหล่านั้นเป็นบัณฑิต ย่อมบรรลุนิพพานโดยลำดับ