มหาสุบินของพระพุทธเจ้า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุที่นอนหลับ มีสติตั้งมั่น รู้สึกตัวอยู่ ย่อมหลับเป็นสุข ตื่นเป็นสุข ไม่ฝันร้าย หรือหากฝันก็ฝันแต่เรื่องที่เป็นสิริมงคล เทวดาจะลงปกปักรักษา
เศษกรรมนำให้เป็นสัตว์ดิรัจฉาน
ชีวิตของสัตว์เดียรัจฉานเป็นชีวิตที่ทุกข์ทรมาน น่าสงสาร หาความสุขได้ยาก ที่เป็นผลเช่นนี้ ก็เพราะผลแห่งกรรมชั่วที่ตนกระทำไว้ในอดีตทั้งสิ้น
ปลาตายนับแสน ก่อนเกิดสึนามิ สัญญานเตือนจากสัตว์
แทบจะปฏิเสธไม่ได้เลยว่า มนุษย์จะสามารถสร้างเทคโนโลยีขึ้นมาใช้อำนวยความสะดวกและป้องกันตัวเองจากภัยรอบตัวมาแล้วมากมายเช่นไร
กินให้เป็นยา
อาหารเป็นสิ่งสำคัญสำหรับร่างกาย ซึ่งให้ทั้งพลังงานและสารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตและดูแลร่างกาย แล้วเราจะใช้อาหารเป็นยารักษาโรคได้อย่างไร
ไปสวรรค์เพราะถือศีลแปด ตอนที่ 3
ชีวิตของการบวชเป็นชีวิตที่สูงส่งและประเสริฐที่สุด ชีวิตของฆราวาสในยามสุขก็ไม่ใช่ความสุขที่แท้จริง เป็นความสุขแบบเทียมๆ สุกๆดิบๆ
ชีวิตก็เป็นอย่างนี้ ตอนที่ 7
การบวชของพระราชาผู้เป็นที่รักยิ่งของมหาชนทั้งหลาย ผู้ทรงเพียบพร้อมไปด้วยทุกสิ่ง เป็นเรื่องที่น่าทึ่งและน่าอัศจรรย์ใจเป็นอย่างยิ่ง
คนที่โลกรอคอย
ในปัจจุบัน มันยากแสนยากที่จะหาคนที่มีความคิดในการเป็นผู้ให้ เพราะความคิดแบบนี้จะมีเฉพาะกับผู้ที่มีหัวใจประดุจพระโพธิสัตว์เท่านั้น
คัมภีร์ใบลาน "ผ้าห่อถักทอด้วยศรัทธา"
หนังสือใบลานเป็นเอกสารโบราณที่ใช้จดจารคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และเรื่องราวทางพระพุทธศาสนาอันศักดิ์สิทธิ์ ความสำคัญของหนังสือใบลานในประเทศไทยมีมาพร้อม ๆ กับการยอมรับนับถือพระพุทธศาสนา คนไทยโบราณจึงมักเรียกหนังสือโบราณนี้ว่า “คัมภีร์ใบลาน” คติการสร้างคัมภีร์ใบลานในหมู่พุทธศาสนิกชนนับแต่อดีตจนถึงปัจจุบันเชื่อว่าจะได้อานิสงส์อันยิ่งใหญ่จะนับจะประมาณมิได้ ด้วยเหตุนี้จึงมีธรรมเนียมนิยมสร้างคัมภีร์ใบลานถวายไว้กับพระศาสนามากมาย
เจ้าชายสิทธัตถะเมื่อแรกประสูติ ทรงดำเนินไปได้ 7 ก้าวจริงหรือ? - หลวงพ่อตอบปัญหา
เจ้าชายสิทธัตถะเมื่อแรกประสูติ ทรงดำเนินไปได้ 7 ก้าวนั้นเป็นไปได้จริงหรือ?, พระโพธิสัตว์ที่ยอมสละชีวิตเป็นเดิมพันนั้น ต่างจากการฆ่าตัวตายอย่างไร?
พระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชสมัยแห่งการฟื้นฟู
ระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๒ แห่งราชวงศ์จักรีทรงเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เมื่อครั้งยังทรงพระเยาว์ ทรงฝากตัวเป็นศิษย์กับพระวันรัต (ทองอยู่) เพื่อเข้ารับการศึกษาเบื้องต้น ณ สำนักวัดระฆังโฆสิตาราม เดิมเรียกว่า วัดบางหว้าใหญ่