ศีล..สะพานข้ามสู่เทวโลก
“สีลํ เสตุ มเหสกฺโข สีลํ คนฺโธ อนุตฺตโร สีลํ วิเลปนํ เสฏฺฐํ เยน วาติ ทิโส ทิสํ ศีลเป็นสะพานข้ามฟากอันมีพลังมาก ศีลมีกลิ่นหอมอันยอดเยี่ยม ศีลเป็นเครื่องลูบไล้อันประเสริฐ บุคคลผู้สมบูรณ์ด้วยศีล ย่อมหอมฟุ้งไปทั่วสารทิศ” (ขุ.เถร.)
วิรัติวัดศีล
เจตนาหํ ภิกฺขเว กมฺมํ วทามิ เจตยิตฺวา กมฺมํ กโรติ กาเยน วาจาย มนสา ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวเจตนาว่าเป็นกรรม บุคคลคิดแล้วจึงทำ กรรมด้วยกาย วาจา ใจ
บ่อเกิดแห่งความสุข
ศีลเป็นประดุจฐานที่ตั้งอันมั่นคงที่จะทำให้ชีวิตดำรงอยู่ได้อย่างปลอดภัยและมีชัยชนะ กาย วาจา ที่ได้รับการอบรมในกรอบของศีลอย่างดีแล้ว จะก่อให้เกิดพลังใจที่ตั้งมั่นผ่องใสเป็นปกติ ผู้รักษาศีลจึงเป็นผู้ที่มีความสุขในทุกช่วงของชีวิต
เหตุแห่งความมีอายุยืน
“..ธรรมย่อมรักษาผู้ประพฤติธรรม เหมือนร่มใหญ่ที่กางกั้นฝนในฤดูฝนหรือกันแดด ในฤดูร้อน เพราะฉะนั้นธรรมบาลกุมารย่อมได้รับการคุ้มครองโดยธรรม เราจึงเชื่อว่า เขาต้องไม่ตายแน่นอน..”
ศีล 5 กลอนธรรม พระเทพสุวรรณโมลี
อ่านกลอนศีล 5 กลอนธรรมโดยพระเทพสุวรรณโมลี (สอิ้ง สิรินนฺโท) เจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี ให้ไว้เมื่อ 8 มกราคม พ.ศ.2557 ได้ที่นี่...
ศีล 5 การสมาทานและรับศีล 5 อานิสงส์ของศีล
ศีล 5 การสมาทานศีล วิธีการสมาทานศีล 5 มี 3 แบบ คือ แบบสัมปัตตวิรัติ แบบสมาทานวิรัติ และแบบสมุจเฉทวิรัติ วิธีการรับศีลที่ถูกต้อง
ศีล 5 ความหมายของศีล 5
ศีล 5 คำแปล ความหมาย คำอาราธนา ศีล 5 พร้อมคำแปล วัตถุประสงค์ของการรักษาศีล
ธุดงค์ คือ อะไร
ธุดงค์ คืออะไร หลังออกพรรษาก็ถึงคราที่พระภิกษุสงฆ์จะเที่ยวจาริกไปในที่ต่างๆ เพื่อหาสถานที่อันสัปปายะ เพื่อเจริญสมณธรรม รวมทั้งเผยแผ่ธรรม ซึ่งเรามักจะได้ยินว่าออก ‘ธุดงค์’
สามเณรนิโครธ (๒)
หากว่าบุคคลมีธรรมประดับแล้ว เป็นผู้สงบแล้ว ฝึกตนแล้ว เป็นคนเที่ยงตรง เป็นพรหมจารี เลิกอาชญากรรมในสัตว์ทั้งปวง พึงประพฤติธรรมสมํ่าเสมอ ผู้นั้นก็ชื่อว่าเป็นพราหมณ์ ผู้นั้นก็ชื่อว่า เป็นสมณะ ผู้นั้นก็ชื่อว่า เป็นภิกษุ
พุทธชิโนรส (๔)
พระตถาคตผู้มีพระปัญญาเฉลียวฉลาด ทรงสมบูรณ์ด้วยศีล ทรงรักษาเราเหมือนนกต้อยตีวิด พึงรักษาไข่ เหมือนเนื้อจามรีรักษาขนหางสูงสุดฉะนั้น