๔๐ วิธี เพื่อเข้าถึงพระธรรมกาย
ผู้ใดแล มีศรัทธาตั้งมั่นเกิดขึ้นแล้วแต่ รากแก้วคืออริยมรรค ประดิษฐานมั่นคง อันสมณพราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือผู้ใดผู้หนึ่งในโลก ไม่พรากไปได้ ควรเรียกผู้นั้นว่า เป็นบุตรเกิดแต่พระอุระ เกิดแต่พระโอฐของพระผู้มีพระภาค เป็นผู้เกิดแต่พระธรรม เป็นผู้ที่พระธรรมเนรมิตขึ้น เป็นผู้รับมรดกพระธรรม ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะคำว่า ธรรมกาย ก็ดี ว่าพรหมกาย ก็ดี ว่าธรรมภูต ก็ดี ว่า พรหมภูต ก็ดี เป็นชื่อของตถาคต
มีวิธีอย่างไรที่จะทำให้มีความตื่นตัวรักความก้าวหน้าในการพัฒนาวัด
อยากทราบว่ามีวิธีอย่างไร ที่จะทำให้เจ้าอาวาสมีความตื่นตัวรักความก้าวหน้า คือที่วัดแห่งหนึ่งมีโยมอยู่ 2 ฝ่าย ฝ่ายหนึ่งอยากจะพัฒนา อีกฝ่่ายไม่อยากจะพัฒนาจะทำอย่างไรดี
ความรู้สึกของผู้หญิงคนหนึ่ง...เมื่อรู้ว่าต้องเป็นแม่
ตอนเห็นหน้าเจ้าตัวเล็กครั้งแรก ความเจ็บปวดทรมานต่างๆไม่รู้มันหายไปไหนหมด รู้สึกดีใจ ปลื้มใจจนบรรยายเป็นคำพูดไม่ได้
การแสดงตนเป็นพุทธมามกะที่ถูกต้องเป็นอย่างไร
เวลาสวดบูชาพระรัตนตรัย และกล่าวย้ำตอนท้ายว่า “พุทโธ เม นาโถ, ธัมโม เม นาโถ, สังโฆ เม นาโถ” ไม่ถือว่าเป็นการกล่าวว่าเราขอเป็นพุทธมามกะหรือคะ
เส้นทางสู่ความเป็นพุทธะ_1
ธรรมดาของพระโพธิสัตว์ทั้งหลาย แม้รู้ว่าสกลจักรวาลทั้งสิ้น เต็มด้วยถ่านเพลิงซึ่งปราศจากเปลว เกลื่อนกล่นด้วยหอก และหลาว ดารดาษไปด้วยหนามแหลม หรือเต็มด้วยน้ำปริ่มฝั่งแล้ว หากสามารถก้าวข้ามได้ จะได้ตรัสรู้ธรรมเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ก็ตัดสินใจที่จะทอดเท้าก้าวข้ามไป เพื่อให้ได้มาซึ่งสัพพัญญุตญาณอันประเสริฐ
เส้นทางสู่ความเป็นพุทธะ_2
ธรรมดาว่าท่านผู้ ประเสริฐ เมื่อจะอุบัติในโลกนี้ ท่านจะอุบัติเฉพาะในสัตว์ ๒ เท้าเท่านั้น คือถือกำเนิดในมนุษย์และเทวดา เมื่อเสด็จอุบัติในหมู่มนุษย์ ย่อมเป็นผู้สามารถเพื่อทำ ๓,๐๐๐โลกธาตุ และหลายพันโลกธาตุให้อยู่ในอำนาจได้ เมื่ออุบัติในหมู่เทวดา ย่อมอุบัติเป็นท้าวมหาพรหม ผู้ทำหมื่นโลกธาตุให้อยู่ในอำนาจได้
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 18 พระอชิตะได้รับพุทธพยากรณ์
พระสมณโคดมสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประทานพุทธพยากรณ์แก่พระอชิตะว่า “ท่านอชิตภิกษุรูปนี้ จักได้ตรัสรู้ธรรมเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์สุดท้ายของภัทรกัปนี้
ผลการปฏิบัติธรรม พระบุญรักษ์ คุณธีโร
อยู่ๆก็มีดวงแก้วโปร่งใสใหญ่ขนาดลูกเทนนิส ลอยมาจากที่ที่ลึกมากๆ ตอนนั้นใจสบาย
พระ12รูปกดดันบรรจุพุทธ ยึดหน้าสภาอดข้าวประท้วง
ทำอย่างไรลูกจ้างกับนายจ้างจึงจะพอใจด้วยกันทั้งสองฝ่าย
ลูกจ้างกับนายจ้าง ปกติจะมีเรื่องกระทบกระทั่งและขัดแข้งกันอยู่บ่อยๆ บางครั้งก็รุนแรงจนถึงขั้นเดินขบวน ทำอย่างไรลูกจ้างกับนายจ้าง จึงจะอยู่อย่างพอใจด้วยกันทั้ง 2 ฝ่าย