มงคลที่ 38 - จิตเกษม - ทำลายข่าย คือ ทิฏฐิมานะ (1)
พระพุทธองค์จึงรับสั่งให้ประชุมสงฆ์และสอบถามพระฉันนะว่า เป็นเช่นนั้นจริงหรือไม่ เมื่อท่านยอมรับว่าจริง จึงตรัสเตือนว่า "ดูก่อนโมฆบุรุษ เธอกระทำไม่เหมาะสม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ ทำไมเมื่อเธอถูกภิกษุทั้งหลายว่ากล่าวโดยธรรม จึงทำตัวให้เป็นผู้ที่ใครๆว่ากล่าวไม่ได้
อุบาสิกาอรนุช ฐิติญาณพร
เธอมีคติที่ว่า “ทำอะไรต้องทำให้ดีที่สุด จนสุดฝีมือ” ข้อผิดพลาดแม้เพียงเล็กน้อยก็ไม่ยอมปล่อยผ่าน โดยเฉพาะหนังสือที่เกี่ยวกับโอวาทของพระเดชพระคุณหลวงพ่อธัมมชโย และหนังสือประวัติชีวิต และคำสอนของคุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง เธอจะปลื้มในบุญนี้ทุกครั้ง
ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในจีน
จากอดีตที่ผ่านมา ยุคใดที่กษัตริย์จีนเลื่อมใสพระพุทธศาสนา พุทธศาสนาก็จะได้รับการฟื้นฟูและเจริญรุ่งเรือง.....แต่ยุคใดที่กษัตริย์ยกย่องพระพุทธศาสนาเพียงบางคราวเพื่อผลทางการเมืองหรือนับถือลัทธิความเชื่ออื่น พุทธศาสนาก็จะเสื่อมโทรมหรือถูกทำลาย
มงคลที่ ๓๒ ประพฤติพรหมจรรย์ - บัณฑิตต้องอบรมตน
สมัยหนึ่ง พระราชาตรัสถามว่า "ท่านรัฐบาลผู้เจริญ คนส่วนใหญ่ออกบวชเพราะว่าแก่ชรา อยากมีที่พึ่งทางใจ เพราะความเจ็บไข้ได้ป่วยบ้าง เพราะเสื่อมจากโภคสมบัติบ้าง จึงอยากมาอาศัยพระศาสนา และเสื่อมจากญาติบ้าง เมื่อเห็นว่าจะไม่มีที่พึ่ง จึงพากันออกบวช แต่ท่านไม่ได้มีความเสื่อมเหล่านั้นเลย แล้วทำไมถึงออกบวชเป็นบรรพชิตเล่า"
มงคลที่ ๓๐ สนทนาธรรมตามกาล - เลิศเฉพาะทาง เลิศทุกทาง
พระเถระได้วิสัชนาว่า “ขอถวายพระพร ข้อที่ตรัสว่า พระมหาโมคคัลลานะ เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายผู้มีฤทธิ์นั้นก็ถูก ข้อที่ว่าท่านถูกโจรทุบตีจนต้องนิพพานก็ถูก แต่การถูกทุบตีนั้น เป็นเพราะกรรมเข้ายึดไว้ คือ เป็นวิบากกรรมของท่าน ที่เคยถูกอกุศลเข้าสิงจิตให้กระทำปิตุฆาตและมาตุฆาตุ คือ ฆ่าพ่อฆ่าแม่มาก่อน ไม่มีใครหลีกเลี่ยงกฎแห่งการกระทำได้ สักวันย่อมต้องได้รับผลของกรรมนั้น”
มงคลที่ ๓๐ สนทนาธรรมตามกาล - สนทนาอย่างบัณฑิต
"ดูก่อนมหาบพิตร ถ้ามหาบพิตรจักสนทนาตามเยี่ยงอย่างบัณฑิต อาตมภาพก็พร้อมจะสนทนากับมหาบพิตร แต่ถ้ามหาบพิตรจักสนทนาตามเยี่ยงอย่างของพระราชา อาตมาก็จักไม่สนทนาด้วย" พระยามิลินท์ตรัสถามว่า “บัณฑิตทั้งหลายสนทนากันอย่างไร”
มงคลที่ ๒๘ เป็นคนว่าง่าย - มหาสมุทรแห่งคุณธรรม
คนว่าง่ายมีความเคารพเชื่อฟัง และตั้งอยู่ในโอวาทของผู้มีคุณธรรม ย่อมจะได้รับการถ่ายทอดคุณงามความดี จะเป็นที่มานอนแห่งสิริมงคลทั้งปวง โสวจัสสตา คือ ความเป็นผู้ว่าง่าย จะเกิดขึ้นกับเราได้ก็ต่อเมื่อเรามีความสำนึกอยู่เสมอว่า ยังมีสิ่งที่เราจะต้องฝึกฝนอบรมตนเองอีกมาก แล้วหมั่นสังเกต หมั่นแสวงหาความรู้ และคุณธรรมจากผู้อื่นอยู่เสมอ
มงคลที่ ๒๗ มีความอดทน - ชนะโทสะ ด้วยอโทสะ
เมื่อธรรมเทพบุตร เห็นอธรรมเทพบุตรไม่ให้หนทางแน่แล้ว จึงกล่าวว่า ถ้า หากท่านเป็นผู้กระหายในสงคราม ชอบใจในการล้างผลาญ แม้ผู้หลักผู้ใหญ่และครูของท่านที่จะคอย ตักเตือนท่านก็ไม่มี เราธรรมเทพบุตรก็จะขอยอมเป็นผู้ให้หนทางแก่ท่านเอง เราจะไม่ขุ่นมัว แต่จะทำใจให้เปี่ยมไปด้วยความรักและปรารถนาดี
มงคลที่ ๒๕ มีความกตัญญู - นกแขกเต้า ทุ่มเทชีวิตตอบแทนคุณ
มีอยู่ภพชาติหนึ่ง ราหุลสามเณรเคยเกิดเป็นลูกนกแขกเต้า ชื่อ สุวโปดก ได้รับการเลี้ยงดูเป็นอย่างดีจากพระราชา และพระมเหสี คืนวันหนึ่ง อัครมเหสีของพระเจ้าพรหมทัต ทรงเกิดอาการแพ้ท้อง อยากเสวยผลไม้ชื่ออัพภันตระ เหล่าโหราจารย์ได้กราบทูลว่า มะม่วงอัพภันตระ มีอยู่ที่กาญจนบรรพตในป่าหิมพานต์โน่น ผู้ที่เป็นมนุษย์ไม่สามารถจะไปในที่นั้นได้
ต้นกล้าขับเคลื่อนคุณธรรม เยาวชนใช้ธรรมะช่วยสังคม