มงคลที่ ๓๖ จิตไม่โศก - ไม่ควรหวัง ในสิ่งที่เป็นไปไม่ได้
ฆฏบัณฑิตได้ฟังดังนั้น จึงกล่าวว่า "ข้าพระองค์ไม่ปรารถนากระต่าย ที่อาศัยอยู่บนแผ่นดิน ข้าพระองค์ปรารถนากระต่ายบนดวงจันทร์ ข้าแต่พระเจ้าพี่ ขอพระองค์โปรดนำกระต่ายนั้นมาประทานแก่ข้าพระองค์เถิด มิเช่นนั้น ชีวิตของข้าพระองค์ก็คงไม่อาจดำรงต่อไปได้"
พระนันทกเถระ (๑)
ความเคลือบแคลงสงสัยของหมู่ชน ย่อมไม่มีในวันอุโบสถขึ้น ๑๕ ค่ำ ว่าพระจันทร์จะพร่องหรือเต็มก็ตาม แต่พระจันทร์ก็คงเต็มดวง ฉันใด ภิกษุณีเหล่านั้น มีความชื่นชมยินดีต่อการแสดงธรรมของพระนันทกะ และมีความดำริบริบูรณ์แล้ว ก็ฉันนั้น
กิสาโคตมีเถรี
มฤตยูย่อมพาเอานรชน ผู้มัวเมาในลูก และสัตว์เลี้ยง ผู้มีใจข้องอยู่ในอารมณ์ต่างๆ ไป เหมือนห้วงน้ำใหญ่ พัดพาเอาชาวบ้านที่หลับใหลไปฉะนั้น
อย่าไปยึดมั่นถือมั่น
คำถาม : มีคุณโยมท่านหนึ่งถามมาว่าพระพุทธจ้าสอนว่าคนเราไม่ควรยึดมั่นถือมั่นแล้วทำไมพระสงฆ์ท่านจึงมีข้อปฏิบัติเยอะจังครับ
พิจารณาปล่อยวางในขันธ์ ๕
ภาชนะดินที่นายช่างทำแล้วทุกชนิด มีความแตกเป็นที่สุด แม้ฉันใด ชีวิตของสัตว์ทั้งหลายที่เกิดมาแล้ว ล้วนมีความแตกสลายเป็นที่สุดฉันนั้น
A Mind Free of Sorrow.
It’s unavoidable for every one to face the eight worldly conditions except for the enlightened one or the noble one whose mind is kept calm and collected no matter what pleasant or unpleasant objects come to him/her
มงคลที่ ๕ มีบุญวาสนามาก่อน - บุญหาช่องคอยส่งผล
็เพื่อทำให้ทุกท่านได้เชื่อมั่นและมีกำลังใจในเรื่องการสร้างบารมี เพื่อให้มั่นใจว่า สิ่งที่ดีงามเหล่านี้ บัณฑิตนักปราชญ์ในกาลก่อนล้วนทำมาแล้ว และได้รับผลของการกระทำนั้นอย่างเกินควรเกินคาด ดังนั้นเราทุกคนควรดำเนินตามรอยท่านผู้มีบุญในกาลก่อน ดังเช่นพระเถระรูปนี้
มงคลที่ ๑๖ ประพฤติธรรม - วันสุดท้ายของชีวิต
สรรพสิ่งทั้งปวงที่มีอยู่ในโลก ไม่ว่าจะเป็นสิ่งที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิต ต่างอยู่บนพื้นฐานของความไม่เที่ยง มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เปลี่ยนแปลงไปสู่ความเสื่อมทุกวินาที และสูญสลายในที่สุด ทุกสิ่งล้วนเป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวตนที่แท้จริง เราควรแสวงหาสิ่งที่เป็นความสุขที่แท้จริง นั่นคือ “พระธรรมกาย”
มงคลที่ ๒๖ ฟังธรรมตลอดกาล - สละชีวิตเพื่อฟังธรรม
พระฤๅษีจึงตอบว่า ถ้าเรายังดำรงอยู่ในราชสมบัติ เราจะบูชาธรรมท่านด้วยทรัพย์สมบัติ แก้วแหวนเงินทองเป็นอันมาก และจะยกราชสมบัติทั้งหมดพร้อมด้วยเศวตฉัตรให้ท่าน แต่บัดนี้เราเป็นนักบวชเหลือแต่เพียงร่างกาย และผ้าคลุมกายนี้เท่านั้น เรามีชีวิตเลือดเนื้อเป็นสมบัติ ถ้าหากท่านปรารถนา เราจะบูชาธรรมด้วยชีวิตนี้แหละ
พระอัญญาโกณฑัญญะ ผู้รัตตัญญู (๑)
ภิกษุผู้สันโดษ ย่อมเป็นผู้อยู่เป็นสุขในทิศทั้ง ๔ และเป็นผู้ไม่หงุดหงิด สันโดษด้วยปัจจัยตามมีตามได้ ครอบงำอันตรายทั้งหลาย ไม่หวาดเสียว เทียวไปคนเดียวดังนอแรด