วิธุรบัณฑิตบําเพ็ญสัจจบารมี (3)
รสเหล่าใดมีอยู่ในแผ่นดิน สัจจะเป็นรสที่ยังประโยชน์ให้สำเร็จกว่ารสเหล่านั้น เพราะว่าสมณพราหมณ์ผู้ตั้งอยู่ในสัจจะย่อมข้ามพ้นฝั่งแห่งชาติและมรณะได้
มงคลที่ ๓๕ จิตไม่หวั่นไหวในโลกธรรม - ชีวิตที่ไม่หวั่นไหว
คนที่ถูกนินทาหรือถูกสรรเสริญ เพียงอย่างเดียวในโลกนี้ไม่มีเลย แม้แต่พระราชาผู้เป็นใหญ่ ปกครองไพร่ฟ้าประชาราษฎร์ด้วยทศพิธราชธรรม ก็ยังมีทั้งคนนินทาและสรรเสริญ พระจันทร์และพระอาทิตย์ แม้ส่องสว่างให้แก่สรรพสัตว์ทั้งหลายบนพื้นโลก บางครั้งได้รับการสรรเสริญ บางครั้งถูกนินทา
พ่อขี้เมา ตายแล้วลูกทำบุญองค์พระให้
เรื่องราวของยอดนักรบแห่งกองทัพธรรม...โยมพ่อของท่าน ชอบดื่มสุรา เมื่อเมาแล้วก็มักจะด่าว่า และทำร้าย ภรรยา และลูกๆ สร้างความทุกข์ใจให้แก่คนในครอบครัวเป็นอันมาก...เมื่อโยมพ่อของท่านเสียชีวิต ท่านได้นำเงินมรดกของโยมพ่อ มาสร้างพระธรรมกายประจำตัว ถวายพระสังฆาธิการทั่วประเทศ ในนามโยมพ่อ และสร้างองค์พระให้กับทุกคนในครอบครัว สร้างเสาเขื่อนรอบมหาวิหารคุณยายอาจารย์ เพื่อเอาบุญใหญ่ช่วยโยมพ่อของท่าน ให้พ้นจากอบาย
มงคลที่ ๓๒ ประพฤติพรหมจรรย์ - ความทุกข์ในการครองเรือน
อยู่มาวันหนึ่ง เศรษฐีกรุงพาราณสีได้เกิดความคิดอย่างนี้ขึ้น ด้วยความรักและความคุ้นเคยในพระโพธิสัตว์ว่า "ชื่อว่าการบวชเป็นทุกข์ เรายังปริพาชกชื่อว่า วัจฉนขะ ผู้เป็นสหายของเราให้สึก แล้วแบ่งสมบัติทั้งหมดให้แก่ปริพาชกไปครึ่งหนึ่ง เราทั้งสองก็จักอยู่ด้วยความปรองดองกัน"
ชาวเนปาลคัดค้านหนังอิินเดียที่อ้างอิงสถานที่ประสูติของพระพุทธเจ้าไม่ถูกต้อง
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 117
ทันใดนั้น พระเจ้าจุลนีจึงทรงประกาศขึ้นในท่ามกลางมหาสมาคมว่า“มา เถิดท่านทั้งหลาย บัดนี้ถึงเวลาแล้วที่เราจะต้องห้ำหั่นมิถิลาให้เป็นจุณ วิเทหราชหรือจะรอดพ้นเงื้อมมือของเราไปได้ เมื่อจับท้าววิเทหะผู้ทรนงตนเสียได้ เราก็จักบั่นศีรษะของมันเสียด้วยพระขรรค์เล่มนี้ล่ะ
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 116
ครั้นแล้วสหายของมโหสถก็รีบดำเนินการตามอุบาย พากันเปล่งเสียงโห่ร้องก้องสนั่น แล้วทุบต่อยไหสุราทั้งหมดด้วยค้อนใหญ่ พร้อมกับสาดเทของบริโภคที่ตระเตรียมไว้จนไม่เหลือชิ้นดี แล้วก็ส่งเสียงอึกทึกครึกโครมไปทั่วพระราชอุทยาน ยังความสะดุ้งกลัวให้เกิดแก่เหล่าข้าราชการของปัญจาลนคร
มงคลที่ ๒๓ มีความถ่อมตน - พระทัพพมัลลบุตร (๓)
จากเรื่องนี้ เราจะเห็นได้ว่า แม้เราจะทำหน้าที่อย่างสมบูรณ์ที่สุด ก็อาจเกิดการเข้าใจผิดกัน ไม่เว้นแม้กระทั่งพระอรหันต์ผู้หมดกิเลสแล้ว ฉะนั้น การเข้าใจผิดจึงเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้ง่าย และพร้อมจะเกิดขึ้นเสมอในสังคมโลกปัจจุบัน เรื่องราวที่เกิดขึ้นนี้ พวกเราทุกคนควรนำไปเป็นข้อคิดว่า
มงคลที่ ๑๙ งดเ้ว้นจากบาป - กลิ่นแห่งความหลุดพ้น
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงตรัสตอบติสสฤๅษีว่า ชนเหล่าใดฆ่าสัตว์ ไม่สำรวมในกามทั้งหลาย มีความเห็นว่า ทานที่บุคคล ให้แล้วไม่มีผล เป็นผู้ประทุษร้ายมิตร มีปกติไม่ให้ นี้ชื่อว่ากลิ่นดิบของชนเหล่านั้น เนื้อ และโภชนะไม่ชื่อว่าเป็นกลิ่นดิบ และสัตว์เหล่าใดขวนขวายในอกุศลกรรม ตายแล้วย่อมเข้าถึงที่มืด มีศีรษะลงตกไปสู่นรก
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - เลิกตระหนี่ตลอดไป (๒)
แม้เป็นเศรษฐีแล้ว ยังต้องให้ทาน จะได้รวยข้ามชาติ ไม่ ใช่เกิดมาเสวยสมบัติอย่างเดียว ส่วนท่านที่ยังลำบากยากจน ต้องเริ่มให้ทานได้แล้ว จะรอให้รวยแล้วจึงทำทานไม่ได้หรอก ต้องทำทานไปเรื่อยๆ ถึงจะรวย งานทางโลกเราก็ทุ่มเททำกันไป งานบุญงานกุศลก็ทำกันไป ให้เศรษฐกิจกับจิตใจไปด้วยกัน