คนไม่มีธรรมะ เหมือนคนไม่มีบ้านอยู่
คำคมสอนใจกับธรรมะใสๆ ที่ให้แง่คิดมุมมองดีๆ กับชีวิต สามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้ เพื่อประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่น
ความพอดี
ความพอดี เป็นศิลปะอย่างหนึ่ง เพราะเป็นเรื่องละเอียดอ่อน ต้องอาศัยความช่างสังเกตและความพิถีพิถัน
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 72 พุทธภูมิธรรม 4 ประการ (2)
พุทธภูมิธรรม คือ คุณลักษณะพิเศษที่เป็นเครื่องหมายบ่งบอก ถึงความเป็นผู้มุ่งมั่นปรารถนาพุทธภูมิ แต่เพียงอย่างเดียว
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 63 อนิยตโพธิสัตว์ และ นิยตโพธิสัตว์
ความหมายของคำว่า อนิยตโพธิสัตว์ และ นิยตโพธิสัตว์ รวมถึงความสำคัญของการได้รับพุทธพยากรณ์จากพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 61 อัธยาศัยของพระโพธิสัตว์
ด้วยความที่พระโพธิสัตว์เป็นผู้ที่มีหัวใจรักในการสร้างบารมีอย่างไม่มีประมาณ เราจึงสามารถสรุปอัธยาศัยของพระโพธิสัตว์ได้หกประการ ดังนี้
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 57 การบังเกิดขึ้นของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นการยาก (5)
กว่าจะได้มาเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทุกๆพระองค์จะต้องทรงผ่านการบำเพ็ญเพียรและสั่งสมบารมีอย่างเอาชีวิตเป็นเดิมพัน เป็นเวลายาวนาน
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๕ ชนะสัจจกนิครนถ์)
การฝึกฝนใจให้หยุดนิ่ง เป็นสิ่งสำคัญสำหรับชีวิตของเราทุกคน เพราะชีวิตของผู้มีใจหยุดดีแล้ว เป็นชีวิตที่ประเสริฐ มีพลัง มีความบริสุทธิ์ มีอานุภาพที่จะทำความดี เอาชนะความชั่ว
คาถาหัวใจเศรษฐี-หลวงพ่อตอบปัญหา
คนที่ท่องหัวใจเศรษฐีคือ “อุ อา กะ สะ” เพราะเชื่อว่าจะทำให้รวยได้ คาถานี้จะช่วยคนเราเป็นเศรษฐีได้จริงหรือไม่,ถ้าเราอยากเป็นเศรษฐีข้ามภพข้ามชาติ จะต้องปฏิบัติตามหลักธรรมข้อใดบ้าง,มีหลักธรรมข้อใดบ้าง ที่จะทำให้ครอบครัวและวงศ์ตระกูลตั้งอยู่ได้อย่างมั่นคง
ชัยชนะครั้งที่ 6 (ตอนที่ 5 ชนะสัจจกนิครนถ์)
บุคคลเอก เมื่อเกิดขึ้นในโลก ย่อมเกิดขึ้นแบบไม่เป็นที่สองรองใคร ไม่มีใครเช่นกับพระองค์ ไม่มีใครเปรียบ ไม่มีส่วนเปรียบ ไม่มีใครเสมอด้วยพระพุทธเจ้า ผู้เป็นเลิศกว่าชนทั้งหลาย บุคคลเอกผู้นั้น คือ พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
มงคลที่ 38 - จิตเกษม - ความสุขในพระรัตนตรัย
หลังจากที่ท่านปลงผมเสร็จ กำลังจะผลัดผ้าสาฎกออก เพื่อเปลี่ยนมานุ่งห่มชุดของนักบวช ในจังหวะนั้นท่านก็ได้สำเร็จเป็นพระอรหันต์ในทันที เมื่อบรรลุธรรมแล้ว ท่านเป็นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องปฏิสัมภิทาญาณ ต่อมาพระบรมศาสดาทรงสถาปนาท่านไว้ในตำแหน่งภิกษุผู้เลิศกว่าภิกษุทั้งหลาย ผู้มีความแตกฉานในปฏิสัมภิทาญาณสี่