๔๐ วิธี เพื่อเข้าถึงพระธรรมกาย
ผู้ใดแล มีศรัทธาตั้งมั่นเกิดขึ้นแล้วแต่ รากแก้วคืออริยมรรค ประดิษฐานมั่นคง อันสมณพราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือผู้ใดผู้หนึ่งในโลก ไม่พรากไปได้ ควรเรียกผู้นั้นว่า เป็นบุตรเกิดแต่พระอุระ เกิดแต่พระโอฐของพระผู้มีพระภาค เป็นผู้เกิดแต่พระธรรม เป็นผู้ที่พระธรรมเนรมิตขึ้น เป็นผู้รับมรดกพระธรรม ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะคำว่า ธรรมกาย ก็ดี ว่าพรหมกาย ก็ดี ว่าธรรมภูต ก็ดี ว่า พรหมภูต ก็ดี เป็นชื่อของตถาคต
ก็อตซิลล่า 2014 การกลับมาอีกครั้งของอสูรกายยักษ์ถล่มเมือง ...
ก็อตซิลล่า 2014 การกลับมาอีกครั้งของอสูรกายยักษ์ถล่มเมือง ... เรื่องราวเกี่ยวกับ "อสุรกาย" "ยักษ์" ที่คุณอาจไม่เคยรู้ . . .
ที่พึ่งที่แท้จริง
จงมีตนเป็นเกาะ มีตนเป็นที่พึ่ง สิ่งอื่นไม่ใช่ จงมีธรรมเป็นเกาะ มีธรรมเป็นที่พึ่ง สิ่งอื่นไม่ใช่
ความสำคัญของแผ่นฌาน
ปกติการทำวิชชาปราบมารจะต้องอยู่ในอิริยาบถนั่งบนแผ่นฌาน ซึ่งแผ่นฌานจะเป็นประดุจอวัยวะหนึ่งของร่างกาย เหมือนแขน เหมือนขา ไม่ว่าจะเป็นพระนิพพานที่ละเอียด ๆ ท่านก็จะนั่งอยู่บนแผ่นฌานหรือแม้แต่เวลาเข้าถึงพระนิพพานในตัวแล้ว เราก็จะเห็นว่าพระธรรมกายท่านนั่งอยู่บนแผ่นฌาน อยู่ในอิริยาบถของพระผู้พิชิตมารหรือปราบมาร
สรุปประเด็นร.ร.อนุบาลฯ วันพุธที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2557
สรุปประเด็นร.ร.อนุบาลฯ วันพุธที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2557 ชวนบวช - บุพกรรมแหวนสวรรค์ - ครูไม่ใหญ่เล่าเรื่องตอน 10 ขวบ - เล่าเรื่องคุณยาย ตอน คุณยายปัดก้อนเมฆ - แสดงธรรมโดยพระครูวินัยธรสุวิทย์ สุวิชชาโภ
วิสาขามหาอุบาสิกา (อดีตชาติของวิสาขา).
บุคคลในโลกนี้ ตั้งใจไว้ชอบ กล่าววาจาชอบ งานชอบด้วยกาย ผู้มีการสดับมาก ทำบุญไว้มาก ในชีวิตอันมีประมาณน้อย ในมนุษยโลกนี้ บุคคลนั้นเป็นผู้มีปัญญา เมื่อตายไป ย่อมเข้าถึงสวรรค์
วิสาขามหาอุบาสิกา (มหาลดาปสาธน์)
ผู้ที่มาเกิดแล้ว จำจะต้องตายในโลกนี้ ย่อมทำกรรมใดไว้ คือ เป็นบุญและเป็นบาปทั้งสองประการ บุญและบาปนั้นแล เป็นสมบัติของเขา และเขาจะพาเอาบุญและบาปนั้นไปสู่ปรโลก บุญและบาปนั้น ย่อมจะติดตามตัวเขาไป ประดุจเงาติดตามตนไป ฉะนั้น เพราะฉะนั้น บุคคลพึงบำเพ็ญบุญ สะสมกรรมดีไว้เป็นสมบัติในปรโลก เพราะว่า บุญทั้งหลายย่อมเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลาย
มหาเศรษฐีกากวฬิยะ
ภิกษุทั้งหลาย บาปกรรมแม้ประมาณน้อยที่บุคคลบางคนทำแล้ว บาปกรรมนั้น ย่อมนำเขาไปนรกได้ บาปกรรมประมาณน้อยอย่างเดียวกันนั้น บางคนทำแล้ว กรรมนั้นเป็นทิฏฐธรรมเวทนียกรรมที่ให้ผลในภพปัจจุบัน
เขมาเถรี อัครสาวิกาเบื้องขวา
เราเรียกผู้ไม่เยื่อใยในกามทั้งหลายเหล่านั้นว่า เป็นผู้สงบ เพราะไม่มีกิเลสเป็นเครื่องร้อยรัด จึงข้ามพ้นตัณหาไปได้
พระโปฐิลเถระ
การเรียนนิกายหนึ่งก็ดี สองนิกายก็ดี จบพุทธวจนะคือพระไตรปิฎกก็ดี ตามสมควรแก่ปัญญาของตนแล้วทรงไว้ กล่าวบอกพุทธวจนะนั้น ชื่อว่า การศึกษาคันถธุระ ส่วนการเริ่มตั้งความสิ้นไป และความเสื่อมไปในอัตภาพ เจริญวิปัสสนาด้วยอำนาจความเพียรพยายามแล้ว บรรลุพระอรหัต ชื่อว่า วิปัสสนาธุระ