มงคลที่ ๑๖ ประพฤติธรรม - เป็นมนุษย์สุดประเสริฐ
การได้เกิดมาเป็นมนุษย์นั้น เป็นของยากเหลือเกิน จะต้องมีกำลังบุญมากพอ ถ้ากำลังบุญน้อยๆ มาเกิดเป็นมนุษย์ไม่ได้ แต่ดูเหมือนว่า สิ่งที่ได้มาด้วยความยากลำบากนี้ เรามักใช้กันอย่างไม่ทะนุถนอม ใช้กันอย่างถล่มทลาย โดยไม่รู้คุณค่าของกายมนุษย์ ว่าสำคัญแค่ไหน
มงคลที่ ๑๙ งดเ้ว้นจากบาป - อย่าอาฆาตกันเลย
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อย่าว่าแต่พระเจ้าสุปปพุทธะ จะขึ้นไปอยู่บนปราสาทชั้น ๗ และมีทหารกำยำล่ำสันเฝ้ารักษาประตูอยู่เช่นนี้เลย แม้จะมีฤทธิ์เหาะไปได้ในอากาศ หรือจะทรงหนีไปทางมหาสมุทร หรือจะทรงหนีเข้าไปในซอกเขา ก็จะต้องถูกแผ่นดินสูบที่เชิงบันไดของปราสาทนั่นแหละ เพราะถ้อยคำของตถาคตไม่เป็นสอง เรากล่าวอย่างไร ย่อมเป็นอย่างนั้น
มงคลที่ ๓๕ จิตไม่หวั่นไหวในโลกธรรม - ผู้มีจิตมั่นคง
ครั้นเวลาเช้า พระภิกษุสงฆ์มีพระเถระทั้งสองเป็นประมุข ได้ออกบิณฑบาตไปตามถนน แล้วมาพักฉันภัตตาหารที่บ้านของนางนันทมารดาซึ่งได้จัดเตรียมไว้เป็นอย่างดี เมื่ออังคาสภิกษุสงฆ์ให้อิ่มหนำสำราญแล้ว นางก็เข้าไปนั่งสนทนา เล่าเรื่องที่ได้สนทนากับท้าวเวสสวัณเมื่อรุ่งอรุณให้พระเถระทั้งสองฟัง
ชัยชนะครั้งที่ 1 (ตอนที่ 2 ชนะพญามาร)
เราแสวงหานายช่างผู้กระทำเรือน เมื่อไม่ประสบ จึงได้ท่องเที่ยวไปในสงสารมิใช่น้อย การเกิดบ่อยๆ เป็นทุกข์ ดูก่อนนายช่างผู้กระทำเรือน เราเห็นท่านแล้ว ท่านจักไม่ได้กระทำเรือนอีกต่อไป ซี่โครงทั้งหมดของท่านเราหักเสียแล้ว ยอดเรือนเราก็กำจัดแล้ว จิตของเรา ถึงวิสังขารคือพระนิพพานแล้ว เราได้ถึงความสิ้นตัณหาแล้ว ดังนี้...
มหาโควินทสูตร (ตอนที่ 5 พบมหาพรหม)
บุคคลใด ละบาปกรรมที่ตนทำไว้แล้วได้ด้วยกุศล บุคคลนั้นย่อมยังโลกนี้ให้สว่าง ดุจดวงจันทร์พ้นแล้วจากหมอก ฉะนั้น
จันทกุมารบําเพ็ญขันติบารมี (4)
สัตบุรุษทั้งหลายบรรเทาความทุกข์อันยากที่จะอดทนได้ด้วยความสุข เพราะเป็นผู้มีจิตเยือกเย็นยิ่งนัก ในความสุข และทุกข์ทั้ง ๒ อย่าง ย่อมเป็นผู้มีจิตเป็นกลาง ทั้งในความสุขและทุกข์
วิธุรบัณฑิตบําเพ็ญสัจจบารมี (6)
บุคคลผู้มีปัญญา ถึงจะสิ้นทรัพย์ ก็ยังมีชีวิตอยู่ได้ ส่วนบุคคลผู้ไม่มีปัญญา ถึงจะมีทรัพย์ แต่ก็ไม่อาจเป็นอยู่ได้ ปัญญาเป็นเครื่องตัดสินสิ่งที่ตนได้ฟังมา เป็นเครื่องเจริญชื่อเสียงและความสรรเสริญ นรชนในโลกนี้ ผู้ประกอบด้วยปัญญา แม้ในเวลาที่ตนตกทุกข์ ก็ย่อมได้รับความสุข
แนวคิดการบำเพ็ญบารมี_4
ดูก่อนสุเมธดาบส ท่านจงสมาทานศีลบารมีข้อที่ ๒ นี้ กระทำให้มั่นก่อน จงถึงความเป็นผู้มีศีลบารมี หากท่านปรารถนา เพื่อจะบรรลุพระโพธิญาณ หางจามรีคล้องติดในที่ไหนก็ตาม ถ้าปลดขนหางออกไม่ได้ มันก็ยอมตายในที่นั้น แม้ฉันใด ท่านจงบำเพ็ญศีลให้บริบูรณ์ในภูมิทั้งสี่ อย่าได้เห็นแม้แก่ชีวิต รักษาเฉพาะศีลเท่านั้นในกาลทุกเมื่อ เหมือนจามรีรักษาขนหางด้วยชีวิต ฉันนั้นเถิด
อานิสงส์เอาของหอมฉาบทากุฏิ
บุคคลใดเอาของหอมทาพื้นพระคันธกุฎี ด้วยผลของกรรมนั้น ไม่ว่าเขาจะเกิดในชาติใดๆ จักเป็นผู้มีกลิ่นกายหอมทุกชาติไป จักเป็นผู้เจริญด้วยกลิ่นคือคุณแห่งศีล จักเป็นผู้ไม่มีอาสวะแล้วจักปรินิพพาน เพราะกรรมที่ทำไว้ดีนั้น และเพราะการตั้งเจตจำนงไว้
โทษของผู้รังแกสมณะ
ความจริง บาปที่ตนทำแล้ว อันเกิดจากตน ที่มีตนเป็นแดนเกิด ย่อมย่ำยีบุคคล ผู้มีปัญญาทราม เหมือนเพชรย่ำยีแก้วมณีที่เกิดแต่หิน ฉะนั้น